หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2562

หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2562 2 อย่างไรก็ตาม จากปัญหาหนี้สินครัวเรือนเกษตรที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ อาจมีอีกหลาย ปัจจัยที่ท� ำให้เกษตรกรนั้นก่อหนี้ ไม่เพียงแต่มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรที่ลดลง หรือราคาสินค้า เกษตรในประเทศที่ลดต�่ ำลง แต่อาจมีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ภัยธรรมชาติ หรือปัจจัยทางด้าน เศรษฐกิจของโลกที่ทรุดตัวลง หรืออาจเกิดจากปัจจัยภายในครัวเรือนของเกษตรกรเอง ที่ส่งผลให้ เกษตรกรในประเทศต้องเผชิญปัญหาหนี้สินที่เรื้อรังมาอย่างยาวนาน ดังนั้นในรายงานฉบับนี้จึงได้ ท� ำการศึกษาลักษณะทั่วไปและสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนเกษตร ลักษณะของการก่อหนี้ เงินออม และศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นหนี้ของครัวเรือนเกษตร เพื่อใช้ประกอบ การวางแผนและวิเคราะห์นโยบายในการแก้ไขปัญหาหนี้สินของครัวเรือนเกษตรให้แก่ผู้ที่สนใจและ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงลักษณะทั่วไปของครัวเรือนเกษตร และครัวเรือนเกษตรที่เป็นหนี้ 2. เพื่อศึกษาถึงลักษณะของการก่อหนี้ของครัวเรือนเกษตร 3. เพื่อศึกษาเงินออมของครัวเรือนเกษตร 4. เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นหนี้ของครัวเรือนเกษตร ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นประกอบการวางแผนนโยบาย เพื่อลดภาระหนี้สินของครัวเรือนเกษตร 2. น� ำผลการศึกษาไปใช้ในการวางแผนแก้ปัญหาหนี้สินของครัวเรือนเกษตร แผนภูมิ 2 อัตราการขยายตัวของ GDP มูลค่าที่แท้จริง และโครงสร้างการผลิต ณ ราคาประจ� ำปี จ� ำแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2558 - 2562 ที่มา: ส� ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2558 2562 2561 2560 2559 -10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 -20 0 20 40 60 80 100 ร้อยละ อัตราการขยายตัว -8.6 1.4 5.3 2.9 2.6 8.9 8.5 8.4 8.2 8.1 91.1 91.5 91.6 91.8 91.9 โครงสร้างการผลิต ณ ราคาประจ� ำปี ของภาคเกษตร อัตราการขยายตัวของ GDP มูลค่าที่แท้จริง ภาคเกษตร โครงสร้างการผลิต ณ ราคาประจ� ำปี ของนอกภาคเกษตร

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==