หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2562
หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2562 5 พิชญา ผลปราชญ์ (2553) ศึกษาหนี้สินของครัวเรือนเกษตรในต� ำบลหนองแวง อ� ำเภอ วัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว จากการส� ำรวจตัวอย่างจ� ำนวน 50 คน พบว่า หัวหน้าครัวเรือนเกษตร ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถม ไม่มีอาชีพรอง ครัวเรือนเกษตรทั้งหมดท� ำนาเป็นอาชีพหลัก ส่วนใหญ่มีที่ดินขนาด 26 - 35 ไร่ โดยที่ดินทั้งหมดใช้ท� ำการเกษตร และรายได้จากการท� ำการ เกษตรมีน้อยกว่าค่าใช้จ่ายในการท� ำการเกษตร รวมถึงรายได้รวมทั้งหมดน้อยกว่าค่าใช้จ่ายในการ ด� ำรงชีวิต แต่คาดว่าจะสามารถช� ำระหนี้ได้ทั้งหมดจากรายได้ในปีนั้น แต่ยังมีแนวโน้มการกู้ยืมเงิน เพื่อลงทุนท� ำการเกษตรในปีถัดไป เนื่องจากการขาดทุนจากการขายผลผลิตทางการเกษตรและ รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในครัวเรือน โดยครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นหนี้ในระบบซึ่งนิยมกู้ยืมเงิน จาก ธ.ก.ส. ส� ำหรับครัวเรือนที่เป็นหนี้นอกระบบ เหตุเพราะไม่สามารถกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ในระบบได้ แหล่งเงินกู้นอกระบบ คือ แหล่งเงินกู้จากญาติพี่น้อง จากการวิเคราะห์หนี้สินของ เกษตรกร พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องความยากจน ไม่มีที่ดินท� ำกิน ท� ำให้เกษตรกรต้อง ไปเช่าที่ดินมาท� ำการเกษตร ผลผลิตที่ออกมาขายไม่ได้ราคาท� ำให้รายจ่ายมีมากกว่ารายได้ก่อให้ เกิดการเป็นหนี้ ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557) ศึกษาหนี้สินของครัวเรือนเกษตรและขนาดของ เงินกู้ที่เหมาะสม วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหนี้สินของเกษตรกร ขนาดของเงินกู้ที่เหมาะสม ปัจจัย ที่ก� ำหนด ความสามารถในการช� ำระหนี้สินของครัวเรือนเกษตร และทัศนคติของเกษตรกรต่อ การเป็นหนี้และการพักช� ำระหนี้ ใช้ข้อมูลการส� ำรวจภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและแรงงาน เกษตร ปีเพาะปลูก 2550/51 2551/52 2552/53 และ 2553/54 ในการวิเคราะห์ปัจจัยที่ก� ำหนด ความสามารถในการช� ำระหนี้สินของครัวเรือนเกษตรใช้แบบจ� ำลองโลจิสติก พบว่าตัวแปรที่มีผลต่อ การช� ำระหนี้สินของครัวเรือนเกษตร มีทั้งหมด 9 ตัวแปร ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ได้แก่ การน� ำ เงินกู้ไปใช้ เมื่อน� ำเงินกู้ไปใช้ตรงกับวัตถุประสงค์ จะมีโอกาสช� ำระหนี้ได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเกษตรกร ที่น� ำเงินกู้ไปใช้ไม่ตรงวัตถุประสงค์ แหล่งเงินกู้ ถ้าเกษตรกรกู้เงินจากแหล่งเงินทุนในสถาบัน จะมี โอกาสช� ำระหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเกษตรกรที่กู้จากแหล่งเงินทุนนอกสถาบัน หลักประกันเงินกู้ ถ้าเกษตรกรกู้โดยใช้หลักทรัพย์ค�้ ำประกัน จะมีโอกาสช� ำระหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเกษตรกรที่ ไม่ใช้หลักทรัพย์ค�้ ำประกัน แรงงานในครัวเรือนเกษตรกร ถ้ามีแรงงานในครัวเรือนมากขึ้นโอกาสที่จะ ช� ำระหนี้เพิ่มขึ้น ที่ดินเกษตรกร เมื่อเกษตรกรมีที่ดินมากขึ้น จะมีโอกาสช� ำระหนี้เพิ่มขึ้น ส่วนตัวแปร รายได้ ค่าใช้จ่าย หนี้สิน และทรัพย์สินหมุนเวียน การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของทั้งสี่ตัวแปรมีโอกาสที่ เกษตรจะช� ำระหนี้ได้และไม่ได้เท่ากัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==