หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2562

หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2562 8 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ สถิติเชิงพรรณา โดยใช้ตารางความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ในการศึกษาลักษณะทั่วไป ของครัวเรือนเกษตรและครัวเรือนเกษตรที่เป็นหนี้ รวมถึงลักษณะของการก่อหนี้และเงินออมของ ครัวเรือนเกษตร และใช้การถดถอยโลจิสติกเชิงพหุแบบทวิภาค (Binary Logistic Regression) ใน การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นหนี้ของครัวเรือนเกษตร โดยมีตัวแบบการถดถอยโลจิสติก ดังนี้ log � P( =1) 1 − P( =1) � = a + b 1 X 1 + b 2 X 2 +b 3 X 3 + b 4 X 4 + b 5 X 5 +b 6 X 6 + b 7 X 7 +b 8 X 8 +b 9 X 9 +b 10 X 10 +b 11 X 11 +b 12 X 12 +b 13 X 13 เมื่อ P(Y=1) คือ ความน่าจะเป็นที่ครัวเรือนเกษตรเป็นหนี้ a = ค่าคงที่ b i = ค่าสัมประสิทธิ์โลจิสติก โดยที่ i = 1, 2, …, 13 X 1 = ภาค X 2 = เขตการปกครอง X 3 = เพศของหัวหน้าครัวเรือน X 4 = สถานภาพสมรสของ หัวหน้าครัวเรือน X 5 = อายุของหัวหน้าครัวเรือน X 6 = ระดับการศึกษาสูงสุดของหัวหน้า ครัวเรือน X 7 = จ� ำนวนสมาชิกในครัวเรือน X 8 = อัตราการพึ่งพิง X 9 = รายได้ทั้งสิ้นเฉลี่ย ต่อเดือนต่อครัวเรือน X 10 = ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน X 11 = มูลค่าทรัพย์สิน เฉลี่ยของครัวเรือน X 12 = จ� ำนวนพื้นที่ท� ำการเกษตร X 13 = การเป็นเจ้าของที่ดิน 1 X 1 + b 2 X 2 + 3 X 3 4 4 5 5 b 6 6 + b 7 X 7 + b 8 X 8 + b 9 X 9 + b 10 X 0 + b 1 X 1 + b 2 X 12 + b 13 X 13

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==