หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2564

หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2564 2 อย่างไรก็ตามปัญหาหนี้สินครัวเรือนเกษตรที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเกษตรกรไทย เผชิญปัญหาหนี้สินที่เรื้อรังมาอย่างยาวนาน รายงานฉบับนี้จึงท� ำการศึกษาลักษณะทั่วไปและสถานะ ทางเศรษฐกิจของครัวเรือนเกษตร ลักษณะของการก่อหนี้ เงินออม และศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การเป็นหนี้ของครัวเรือนเกษตร เพื่อใช้ประกอบการวางแผนและวิเคราะห์นโยบายในการแก้ไขปัญหา หนี้สินของครัวเรือนเกษตรให้แก่ผู้ที่สนใจและหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงลักษณะทั่วไปของครัวเรือนเกษตร และครัวเรือนเกษตรที่เป็นหนี้ 2. เพื่อศึกษาถึงลักษณะของการก่อหนี้ของครัวเรือนเกษตร 3. เพื่อศึกษาเงินออมของครัวเรือนเกษตร 4. เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นหนี้ของครัวเรือนเกษตร แผนภูมิ 2 อัตราการขยายตัวของ GDP มูลค่าที่แท้จริง และโครงสร้างการผลิต ณ ราคาประจ� ำปี จ� ำแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2559 – 2563 เมื่อพิจารณาจากอัตราการขยายตัวของ GDP ในภาคการเกษตร พบว่า มีอัตราการขยาย ตัวเพิ่มขึ้นในปี 2559 - 2560 และลดลงในปี 2561 - 2563 โดยเฉพาะในปี 2563 หดตัวร้อยละ 0.9 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 -4 -2 0 2 4 6 8 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 2559 2560 2561 2562 2563 91. 8 91. 6 91.5 91.9 91. 3 8. 58 .4 8. 2 8. 18 .7 1. 4 5. 3 3. 1 2. 2 -0.9 8 8 ที่มา: ส� ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ร้อยละ อัตราการขยายตัว โครงสร้างการผลิต ณ ราคาประจ� ำปี ของภาคเกษตร โครงสร้างการผลิต ณ ราคาประจ� ำปี ของนอกภาคเกษตร อัตราการขยายตัวของ GDP มูลค่าที่แท้จริง ภาคเกษตร

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==