หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2564

หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2564 6 ครัวเรือนที่มีรายได้ มูลค่าหนี้และสถานะการเป็นหนี้มีความสัมพันธ์กับพื้นที่เพาะปลูก ผลผลิตต่อไร่ และการเช่าพื้นที่เพาะปลูก กล่าวคือ เกษตรกรที่เป็นหนี้จะมีมูลค่าหนี้มากขึ้น เมื่อมีจ� ำนวนสมาชิก และจ� ำนวนสมาชิกที่มีรายได้ในครัวเรือนมากขึ้น เนื่องจากมีความสามารถในการเข้าถึงแหล่งหนี้สิน เพิ่มขึ้น ส� ำหรับการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ด้านสาเหตุการก่อหนี้ พบว่า สาเหตุของการก่อหนี้ที่ส� ำคัญคือ หนี้จากต้นทุนทางการเกษตร หนี้เพื่อการศึกษาบุตรหลาน หนี้เพื่อการเช่าซื้อยานพาหนะ หนี้เพื่อน� ำ ไปช� ำระหนี้เดิม หนี้เพื่อการรักษาพยาบาล หนี้เพื่อการซ่อมแซมบ้าน หนี้เพื่อผ่อนซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า และหนี้สินจากการผ่อนช� ำระเคหสถาน โดยส่งผลต่อสถานการณ์เป็นหนี้จากมากไปน้อย ตามล� ำดับ ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557) ศึกษาหนี้สินของครัวเรือนเกษตรและขนาดของ เงินกู้ที่เหมาะสม วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหนี้สินของเกษตรกร ขนาดของเงินกู้ที่เหมาะสม ปัจจัย ที่ก� ำหนดความสามารถในการช� ำระหนี้สินของครัวเรือนเกษตร และทัศนคติของเกษตรกรต่อการ เป็นหนี้และการพักช� ำระหนี้ ใช้ข้อมูลการส� ำรวจภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและแรงงานเกษตร ปีเพาะปลูก 2550/51 2551/52 2552/53 และ 2553/54 ในการวิเคราะห์ปัจจัยที่ก� ำหนด ความสามารถในการช� ำระหนี้สินของครัวเรือนเกษตรใช้แบบจ� ำลองโลจิสติก พบว่า ตัวแปรที่มีผลต่อ การช� ำระหนี้สินของครัวเรือนเกษตร มีทั้งหมด 9 ตัวแปร ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ได้แก่ การน� ำ เงินกู้ไปใช้ เมื่อน� ำเงินกู้ไปใช้ตรงกับวัตถุประสงค์จะมีโอกาสช� ำระหนี้ได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเกษตรกร ที่น� ำเงินกู้ไปใช้ไม่ตรงวัตถุประสงค์ แหล่งเงินกู้ ถ้าเกษตรกรกู้เงินจากแหล่งเงินทุนในสถาบัน จะมี โอกาสช� ำระหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเกษตรกรที่กู้จากแหล่งเงินทุนนอกสถาบัน หลักประกันเงินกู้ ถ้าเกษตรกรกู้โดยใช้หลักทรัพย์ค�้ ำประกัน จะมีโอกาสช� ำระหนี้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเกษตรกรที่ไม่ ใช้หลักทรัพย์ค�้ ำประกัน แรงงานในครัวเรือนเกษตรกร ถ้ามีแรงงานในครัวเรือนมากขึ้นโอกาสที่จะ ช� ำระหนี้เพิ่มขึ้น ที่ดินเกษตรกร เมื่อเกษตรกรมีที่ดินมากขึ้น จะมีโอกาสช� ำระหนี้เพิ่มขึ้น ส่วนตัวแปร รายได้ ค่าใช้จ่าย หนี้สิน และทรัพย์สินหมุนเวียน การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของทั้งสี่ตัวแปรมีโอกาสที่ เกษตรจะช� ำระหนี้ได้และไม่ได้เท่ากัน ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557) ศึกษาสถานการณ์ภาวะหนี้สินครัวเรือนเกษตรใน ปัจจุบัน จากการหาความสัมพันธ์ของตัวแปรหนี้ครัวเรือนเกษตรกับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ GDP ขนาด ครัวเรือน เนื้อที่ถือครองท� ำการเกษตร และสัดส่วนแรงงานต่อสมาชิกครัวเรือนทั้งหมด พบว่า มูลค่า หนี้สินสะสมมีความสัมพันธ์กับระยะเวลา ยิ่งระยะเวลามากขึ้น จะมีแนวโน้มมีหนี้สินสะสมเพิ่มมากขึ้น และเมื่อมีพื้นที่ถือครองท� ำการเกษตรเป็นจ� ำนวนมาก จะส่งผลให้หนี้สินของครัวเรือนเกษตรเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกับสถิติหนี้สินและมูลค่าทรัพย์สิน โดยหนี้สินและมูลค่าทรัพย์สินมี แนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน แสดงให้เห็นการลงทุนบางส่วนในทรัพย์สินเพื่อการเกษตร หาก เกษตรกรมีพื้นที่ถือครองทางการเกษตรเพิ่มมากขึ้น อาจท� ำให้หนี้สินสะสมเพื่อการลงทุนท� ำการ เกษตรเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน ในขณะที่ตัวแปรขนาดครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับ ขนาดหนี้สินของครัวเรือน หรือกล่าวได้ว่าการเพิ่มขึ้นของขนาดครัวเรือน อาจท� ำให้มีจ� ำนวนแรงงาน ภายในครอบครัวเพิ่มขึ้น จึงส่งผลต่อขนาดหนี้สินของครัวเรือนในภาคเกษตร

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==