Children Youth 2021

สถานการณ์เด็กและเยาวชน สถานการณ์เด็กและเยาวชน 10 11 การได้รับนมแม่ การได้รับวัคซีนของเด็กอายุ 12-23 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว กินนมแม่เป็นหลัก ได้รับวัคซีนพื้นฐานครบถ้วนก่อนอายุ 2 ปี ได้รับวัคซีนพื้นฐานครบถ้วนก่อนอายุครบ 12 เดือน ที มา : สํารวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย ปี 2562 สํานักงานสถิติแห่งชาติและองค์การยูนิเซฟ วัคซีนพื้นฐาน ได้แก่ วัณโรค โปลิโอ (ครั้งที่ 3) คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก (ครั้งที่ 3) ตับอักเสบชนิดบี (ครั้งที่ 3) ไม่รวมแรกเกิด และหัด คางทูม หัดเยอรมัน (ครั้งที่ 1) 83.6% 77.9% 14.0% 24.1% 40.7% (1,255 คน) (5,074 คน) เด็กอายุตํ่ากว่า 6 เดือน ได้รับนมแม่ อย่างเหมาะสมกับอายุ เด็กอายุ -23 เดือน (2,614 คน) วัณโรค โปลิโอ 3 คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก 3 ตับอักเสบบี 3 หัด คางทูม หัดเยอรมัน 1 96.2% 85.8% 87.6% 84.3% 89.0% 98.8% 86.4% 88.0% 86.8% 89.7% 2558-2559 2562 VACCINE ที่มา : สถิติสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2,500 g 10.7% 10.4% 10.6% 11.1% 11.1% 11.3% 10.5% 10.0% 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 เด็กแรกเกิดที� นํ� าหนักไม่เกิน 2,500 กรัม สัดส่วนต่อทารกแรกเกิดทั งหมด การได้รับนมแม่และวัคซีน นอกจากเด็กควรได้รับนมแม่อย่างเหมาะสมแล้วยังควรได้รับวัคซีนพื้นฐานตาม ระยะเวลาที่ก� ำหนดเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันโรคอันตรายร้ายแรงประกอบด้วย วัคซีน ป้องกันวัณโรค ไวรัสตับอักเสบบี คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน โปลิโอ หัด คางทูม หัดเยอรมัน ที่ควรได้รับก่อนอายุ 1 ปี และวัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีเมื่ออายุครบ 1 ปี จากข้อมูลพบว่า เด็กอายุก่อนครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีนพื้นฐานครบถ้วนรวมถึงการฉีด กระตุ้นหรือฉีดซ�้ ำมีร้อยละ 77.9 และการได้รับครบถ้วนก่อนอายุ 2 ปี ร้อยละ 83.6 เด็ก 0-5 ป� มีพัฒนาการสมวัย ที่มา : Health Data Center (HDC) สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ : ร้อยละของเด็กที่ได้รับคัดกรองไม่รวมกรุงเทพมหานคร 91.4 95.9 96.6 97.6 97.8 0 25% 50% 75% 100% 2559 2560 2561 2562 2563 การส่งเสริมเด็กปฐมวัยอายุ 0-5 ปี ให้มีพัฒนาการเป็นไปตามช่วงอายุเพิื่อ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งตัวเด็กและครอบครัว จากการติดตามและส่งเสริมเด็กที่มี พัฒนาการล่าช้า ข้อมูลพบว่ามีเด็ก ร้อยละ 97.8 ของเด็กที่ได้รับคัดกรอง มีพัฒนาการสมวัย ซึ่งพัฒนาการที่ดี ในช่วงปฐมวัยและได้รับการดูแลส่ง เสริมพัฒนาการอย่างเหมาะสม เมื่อ เข้ าสู่ การศึกษาจะช่ วยให้ เด็กมี พัฒนาการด้านการเรียนที่ดีด้วย ก� ำหนดการให้วัคซีนตามแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 อายุ วัคซีนที่ให้ ข้อแนะน� ำ แรกเกิด HB1 (ป้องกันโรคตับอักเสบบี)ฺ BCG (ป้องกันวัณโรค) ให้เร็วที่สุดภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด ฉีดให้เด็กก่อนออกจากโรงพยาบาล 1 เดือน HB2 (ป้องกันตับอักเสบบี) เฉพาะที่คลอดจากมารดาที่เป็นพาหะของไวรัสตัับอักเสบบี 2 เดือน DTP-HB-Hib1(ป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน- ตับอักเสบบี-ฮิบ) OPV1(ป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) Rota1 (วัคซีนโรต้า) ห้ามให้วัคซีนโรต้าครั้งที่ 1 ในเด็กอายุมากกว่า 15 สัปดาห์ 4 เดือน DTP-HB-Hib2(ป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน- ตับอักเสบบี-ฮิบ) OPV2(ป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) IPV (ป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด) Rota2 (วัคซีนโรต้า) -ให้วัคซีนป้องกันโปลิโอฉีด 1 เข็ม พร้อมกับชนิดรับประทาน 1 ครั้ง -ห้ามให้วัคซีนโรต้าครั้งสุดท้าย ในเด็กอายุมากกว่า 32 สัปดาห์ 6 เดือน DTP-HB-Hib3(ป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน- ตับอักเสบบี-ฮิบ) OPV3(ป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน) Rota3 (วัคซีนโรต้า) - ห้ามให้วัคซีนโรต้าครั้งสุดท้ายในเด็กอายุมากกว่า 32 สัปดาห์ -ให้ยกเว้นวัคซีนโรต้าครั้งที่ 3 ในเด็กที่รับวัคซีน Rota x มา แล้ว 2 ครั้ง 9 เดือน MMR1 (ป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน หากไม่ได้รับเมื่ออายุ 9 เดือน ให้รีบติดตามฉีดโดยเร็วที่สุด 1 ปี LAJE1 (ป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์) หมายเหตุ : ข้อมูลเฉพาะของอายุไม่เกิน 1 ปี จากทั้งหมด

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==