Children Youth 2021

สถานการณ์เด็กและเยาวชน สถานการณ์เด็กและเยาวชน 12 13 ที่มา : สํารวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย ปี 2562 เด็กอายุ 0-17 ปี ตามลักษณะการอยู่อาศัยกับครอบครัว การอยู่อาศัยกับครอบครัว ตามความมั� งคั� งของครัวเรือนและตามภูมิภาค 1/ พ่อแม่ผู้ให้กําเนิดคนใดคนหนึ่งหรือทัˆ งคู่อาศัยอยู่ที่อื่นหรือเสียชีวิต 59.5% 54.2% 46.2% 40.3% 29.6% จนมาก รวยมาก ปานกลาง จน รวย ร้อยละของเด็กที� ไม่ได้อาศัยอยู่ร่วมกันทั� งพ่อและแม่ผู้ให้กําเนิด ¹ / สำนักงานสถิติแห่งชาติและองค์การยูนิเซฟ ไม่ได้อยู่กับทั้งพ่อและแม่ อาศัยอยู่กับพ่อและแม่ อยู่กับพ่อ อยู่กับแม่ ไม่ทราบข้อมูล เกี่ยวกับพ่อและแม่ 23.5% 16.7% 4.7% 1.3% 53.7% (เด็ก 21,158 คน) ? ? ความมั่งคั่งของครัวเรือนที่เด็กอาศัยอยู่ โดยใช ˆ ดัชนีความมั่งคั่งที่ใช ˆ ข้อมูลความเป– นเจ้าของสิ่งของ ลักษณะที่อยู่อาศัย นํˆ าและสุขาภิบาลและอื่นๆ ที่สัมพันธ์กับความมั่งคั่งของครัวเรือนมาคํานวณ 33.4% 40.8% 49.7% 59.5% 34.2% ครอบครัว เด็กต้องการความรักความอบอุ่นจากครอบครัวที่มีทั้งพ่อและแม่ การดูแลเลี้ยง ดูและใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพนั้นส่งผลต่อพฤติกรรม จิตใจ และพัฒนาการ ของเด็ก แต่ด้วยสภาพเศรษฐกิจสังคมท� ำให้เด็กส่วนหนึ่งไม่ได้อยู่พร้อมหน้าครอบครัว เนื่องจากพ่อแม่ย้ายถิ่นไปท� ำงานหรือก� ำพร้า รวมถึงเผชิญสภาพปัญหาในครอบครัวทั้งการ แตกแยก การหย่าร้าง ความยากจน การเลี้ยงดูที่ ไม่เหมาะสม ความรุนแรงในครอบครัว ล้วนเป็น ปัจจัยกระทบต่อความเป็นอยู่ สภาพจิตใจ และสิทธิเด็ก ข้อมูลจากการส� ำรวจ ปี 2562 เด็กอายุ 0-17 ปี ร้อยละ 46.3 ไม่ได้อยู่อาศัยร่วมกันพร้อมหน้าทั้งพ่อและแม่ผู้ให้ก� ำเนิด โดยเฉพาะเด็กในครัวเรือนที่ยากจน และมีสัดส่วนมากสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 108,061 111,377 111,810 118,539 127,265 121,011 2553 2555 2557 2559 2561 2563 ที่มา : สํานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง จำนวนการจดทะเบียนหย่า เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ในครอบครัว จากข้อมูลพบว่าคดีแพ่งที่ขึ้นสู่การ พิจารณาในศาลเยาวชนและครอบครัวเป็นคดีฟ้องหย่า ซึ่งมีสัดส่วนมากที่สุดในทุกปี โดยปี 2562 มีสัดส่วนร้อยละ 24.0 ของข้อหาคดีแพ่งทั้งหมด และการจดทะเบียน หย่าแต่ละปีมีมากกว่า 1 แสนคู่ อีกทั้งยังมีคู่ไม่จดทะเบียนที่แยกทางกัน สะท้อน ภาพความสัมพันธ์ทั้งชีวิตคู่และครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่มีบุตรด้วยกัน ซึ่งภาระ การดูแลเลี้ยงดูมักจะอยู่กับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือเด็กถูกทิ้งให้อยู่กับญาติใกล้ชิดเช่น ปู่ ย่าตา ยาย เป็นผู้เลี้ยงดู 5,559 5,478 5,625 5,625 5,639 2558 2559 2560 2561 2562 จํานวนคดีฟ� องหย่าที� ขึ� นสู่การพิจารณา ของศาลเยาวชนและครอบครัว ที่มา : รายงานสถิติคดี สํานักงานศาลยุติธรรม “สภาพครอบครัวยังคงมีปัญหา ที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ การดูแลเลี้ยงดู และสิทธิเด็ก” “ เ ด็ก ไ ด้รับผลกร ะ ทบจ าก ปัญหาต่างๆ ในครอบครัว ทั้ง ครอบครัวแตกแยกถูกทอดทิ้ง ถูกกระท� ำรุนแรง ความยากจน การเลี้ยงดูที่ไ่ม่เหมาะสม” สภาพปัญหาครอบครัวท� ำให้เด็กส่วนหนึ่งต้องมาอยู่ในสถานรับรองเด็กที่ ให้การสงเคราะห์และคุ้มครองสิทธิเด็กจากปัญหาต่างๆ เมื่อพิจารณาเฉพาะเด็กที่มี สัญชาติไทยอายุไม่เกิน 18 ปี พบว่า สภาพครอบครัวที่ยากจนและการเลี้ยงดูที่ไม่ เหมาะสมของครอบครัวเป็นปัญหาส่วนใหญ่ที่ท� ำให้เด็กเข้ามาอยู่หรือยังคงอยู่ใน

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==