Children Youth 2021
สถานการณ์เด็กและเยาวชน สถานการณ์เด็กและเยาวชน 18 19 “ความเหลื่อมล�้ ำและแตกต่างด้านการศึกษายัง คงอยู่ เด็กส่วนหนึ่งหลุดออกจากการศึกษาใน ระบบก่อนจบการศึกษาภาคบังคับ ความยากจน ส่งผลต่อการศึกษา” นักเรียนในระบบโรงเรียนปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนระดับประถมศึกษาถึง มัธยมศึกษาตอนปลายและประกาศนียบัตรวิชาชีพจ� ำนวน 8.9 ล้านคน ส่วนใหญ่ยัง คงเรียนต่อสายสามัญศึกษามากกว่าสายอาชีวศึกษา เด็กส่วนใหญ่ได้เข้าเรียนเมื่อถึง วัยเรียน แต่ส่วนหนึ่งต้องออกก่อนจบการศึกษาภาคบังคับ เมื่อประมาณข้อมูลอย่าง หยาบโดยเทียบจ� ำนวนนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้เลื่อนชั้นตามปีต่อเนืืืืื่องจนถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3 รวมเก้าปี มีนักเรียนลดลงหรือหายจากในระบบประมาณ 1 แสนคน สถานการณ์นี้ดีขึ้นในระดับประถมศึกษา แต่มีอัตราเพิ่มสูงขึ้นในระดับการศึกษาที่ยิ่ง สูงขึ้นไป ส่วนอัตราการเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าดีขึ้น ข้อมูลนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้วไม่เรียนต่อ เหตุผลส่วนใหญ่เป็นการ การศึกษาเป็นเครื่องมือส� ำคัญในการพัฒนาคนให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพ นอกจากการพัฒนาคุณภาพชีิวิตของบุคคลแล้ว ยังช่วยแก้ปัญหาสังคมและพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ แต่ปัญหาการศึกษาในหลายด้านยังคงอยู่ อีกทั้งปี 2563 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันนั้นมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ซึ่งส่งผลกระทบต่อการศึกษาทั้งการปิดสถานศึกษา การเลื่อนสอบ หรือ เลื่อนเปิดปิดภาคเรียน มีการปรับการเรียนการสอนต่างไปจากรูปแบบเดิม โดยเฉพาะการเรียนแบบออนไลน์ ที่พบเป็นปัญหามากโดยเฉพาะ ครัวเรือนที่ไม่มีความพร้อมทั้งค่าใช้จ่ ายที่เพิ่มขึ้นในการเข้ าถึง อินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์ใช้เรียนหรือมีบุตรหลายคนในวัยเรียน รวมถึง ท� ำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ได้อาจแตกต่างไปตามวัยของเด็ก แต่ละระดับการศึกษา ความพร้อม และสถานะทางเศรษฐกิจของ ครัวเรือน รวมถึงวิธีการสอน ปีการศึกษา 2558 2559 2560 2561 2562 2563 ประถมศึกษา 48.7 48.3 47.5 47.5 47.5 47.0 มัธยมศึกษาตอนต้น 23.4 23.1 23.2 23.0 23.0 22.8 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 20.2 19.4 19.1 18.9 18.8 19.3 ปริญญาตรีและต�่ ำกว่า 21.8 21.4 20.9 20.3 19.5 19.4 จ� ำนวนนักเรียนทั้งหมดในระบบโรงเรียน หน่วย : แสนคน ออกไปประกอบอาชีพ เห็นได้ว่าในระดับการศึกษาที่สูงขึ้นการเข้าถึงการศึกษาลดลง มากขึ้น ถึงแม้เป็นเพียงการศึกษาภาคบังคับก็ตาม โดยหลายสาเหตุของการเข้าถึงการศึกษาล้วนมี ปัจจัยพื้นฐานมาจากความยากจน หมายเหตุ : ประมาณค่าอย่างหยาบ โดยประมวลผลจากจ� ำนวนนักเรียนในแต่ละปีการศึกษานับจากปีที่เข้าเรียนและไม่คงอยู่โดยไม่ได้ เลื่อนชั้นหรือเรียนต่อตามปีถึงชั้นปีสุดท้ายก่อนจบเช่น การออกก่อนช่วง ป.1-6 ปีการศึกษา 2563 คือ นักเรียน ป.1 ปีการศึกษา 2558 แล้วออกจากระบบหรือไม่ได้เลื่อนชั้นตามปีจนถึง ป.6 ปีการศึกษา 2563 ร้อยละนักเรียนในระบบที่ออกหรือไม่ได้เรียนต่อเนื่องตามปี Leave ปีการศึกษา 2558 2559 2560 2561 2562 2563 การเปลี่ยนแปลง ออกช่วง ป.1-6 6.5 6.1 5.9 5.9 5.0 5.4 ไม่เรียนต่อ ม.1 0.6 0.8 0.5 0.5 0.5 0.7 ออกช่วง ม.1-3 5.2 5.8 7.8 8.1 8.3 7.5 ไม่เรียนต่อ ม.4/ปวช.1 9.0 9.6 9.0 8.3 7.2 4.5 ออกช่วง ม.4-6/ปวช.1-3 9.1 10.1 11.9 11.8 11.5 10.3 0 5 6 7 8 9 8.5 7.4 8.5 7.4 8.6 7.3 8.7 7.4 8.5 7.3 นักเรียนที� ลดลงจากเมื� อแรกเข้าประถมศึกษาจนถึงป� ที� 9 ในการศึกษาภาคบังคับ ประถมศึกษาป� ที� 1 จนถึง มัธยมศึกษาป� ที� 3 x100,000 คน 13.2% 12.9% 14.7% 14.3% 13.4% 1.1 แสนคน 1.1 แสนคน 1.3 แสนคน 1.2 แสนคน 1.1 แสนคน ป.1/ปี 2551 ม.3/ปี 2559 ป.1/ปี 2552 ม.3/ปี 2560 ป.1/ปี 2553 ม.3/ปี 2561 ป.1/ปี 2554 ม.3/ปี 2562 ป.1/ปี 2555 ม.3/ปี 2563 ประมวลผลอย่างหยาบจากจํานวนนักเรียนในระบบเมื่อเข้าชั นประถมศึกษาปีที่ 1 และไม่ได้เลื่อนชั นหรือเรียนต่อตามปีจนถึงชั นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มา : ประมวลผลจากสถิติการศึกษา ส� ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษา SCHOOL สามัญศึกษา อาชีวศึกษา 65 : 35 (ม.4-6) (ปวช.1-3)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==