Children Youth 2021

สถานการณ์เด็กและเยาวชน สถานการณ์เด็กและเยาวชน 20 21 45.0 47.7 44.2 73.4 41.4 91.4 0 50% 100% 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ประกอบอาชีพ บรรพชา/อื่นๆ นักเรียนที� ไม่ได้เรียนต่อ สาเหตุที� ไม่เรียนต่อ คน ร้อยละของ นักเรียนที่จบ 26,476 21,310 22,297 13,286 9,385 8,095 นักเรียนที� จบมัธยมศึกษาป� ที� 3 แล้วไม่ได้เรียนต่อ ที่มา: สถิติทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั‚ นพื‚ นฐาน 4.9% 4.3% 4.5% 2.8% 1.9% 1.6% ป การศึกษา จากข้อมูลจากส� ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มี นักเรียนด้อยโอกาสทั้งยากจน ถูกทอดทิ้ง หรือท� ำงานเลี้ยงครอบครัว ในกลุ่มด้อย โอกาสประเภทยากจนมีประมาณ 3 ล้านคน หรือคิดเป็น 52.1 ของจ� ำนวนนักเรียน และจากข้อมูลกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ที่ก� ำหนดเกณฑ์ ยากจนโดยรวมปัจจัยที่ส่งผลต่อการศึกษา ได้คัดกรองเด็กยากจนอายุ 6-14 ปี ของ สพฐ. ในปี 2563 มี 1.7 ล้านคน และได้ช่วยเหลือเด็กยากจนพิเศษ 859,737 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 50 ของจ� ำนวนนักเรียน ในส่วนนักเรียนที่ออกกลางคันลดลง มากจากปีที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เป็นการอพยพตามผู้ปกครอง มีปัญหาปรับตัว ปัญหา ครอบครัว หรือต้องหาเลี้ยงครอบครัว ป� การศึกษา 66.4% 51.8% 53.4% 54.0% 46.8% 52.1% 50% 2558 2559 2560 2561 2562 2563 นักเรียนด้อยโอกาสประเภทยากจน 2558 2559 2560 2561 2562 5,567 5,377 4,038 6,408 1,847 ป� การศึกษา จํานวนนักเรียนออกกลางคัน ที่มา : สถิติทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั นพื นฐาน นักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ไม่รวมอาชีวศึกษา สัดส่วนต่อจํานวนนักเรียนทั งหมด ส� ำหรับคุณภาพการศึกษาจากข้อมูลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐานหรือ O-NET จาก 4 วิชาหลักในช่วง 6 ปีการศึกษาที่ผ่านมา ผลสอบวิชา ภาษาไทยดีขึ้นยกเว้นระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ส่วนที่เหลือคือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ยังไม่มีแนวโน้มดีขึ้น ซึ่งคะแนนคณิตศาสตร์ในชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 มีแนวโน้มลดลง เมื่อพิจารณา นักเรียนที่ท� ำได้ 50 คะแนนขึ้นไป ทั้งมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 และ 6 มีลักษณะ คล้ายกันคือ ยังคงน้อยกว่าร้อยละ 20 ของจ� ำนวนนักเรียนที่สอบ นอกจากนี้คะแนน เฉลี่ยยังมีความแตกต่างตามกลุ่มโรงเรียน ขนาดโรงเรียน ที่ตั้ง เมื่อเปรียบเทียบความ แตกต่างโดยพิจารณาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของกลุ่มโรงเรียนเน้นวิทยาศาสตร์ และในก� ำกับกระทรวงศึกษาธิการซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด แต่มีสัดส่วนผู้สอบเพียง ร้อยละ 1.1 เปรียบเทียบกับกลุ่มโรงเรียนสังกัดส� ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่เป็นกลุ่มนักเรียนส่วนใหญ่พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยมีความแตกต่างของ อย่างมาก และบางวิชาแตกต่างกันเกือบเท่าตัวหรือมากกว่า นอกจากนี้โปรแกรมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากลหรือ PISA ที่มี การประเมินในหลายประเทศ/เขตเศรษฐกิจ ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ โดยตัวอย่างเป็นตัวแทนนักเรียนอายุ 15 ปี ผลคะแนนเฉลี่ยตลอดที่ ผ่านมามีแนวโน้มที่ไม่เปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนและมีลักษณะคงที่ โดยผล PISA 2018 ล่าสุดที่่ประเมินเน้นด้านการอ่านพบว่า คะแนนเฉลี่ยด้านการอ่านลดลงจากสองครั้ง ก่อนหน้า ทั้งนี้ในรายงานผลการประเมิน PISA 2018 สรุปให้เห็นว่า ภาพรวมคะแนน เฉลี่ยทั้ง 3 ด้าน ต�่ ำกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มประเทศองค์การเพื่อความร่วมมือทาง เศรษฐกิจและการพัฒนา (กลุ่มประเทศ OECD) แต่กลุ่มนักเรียนโรงเรียนสาธิตและ โรงเรียนเน้นวิทยาศาสตร์มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มประเทศ OECD ทั้ง 3 ด้าน อีกทั้งผลคะแนนในประเทศยังมีความแตกต่างระหว่างกลุ่มโรงเรียน ทั้งนี้ ในกลุ่มประเทศอาเซียนที่เข้าร่วมทดสอบและมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าไทยคือ สิงคโปร์ มาเลเซีย และบรูไน “ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาใน 3 วิชาหลักยังไม่มีแนวโน้มดีขึ้น นักเรียน ส่วนใหญ่ท� ำได้ต�่ ำกว่า 50 คะแนน และยังมีความแตกต่างของกลุ่ม โรงเรียนและขนาดโรงเรียน”

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==