Children Youth 2021

สถานการณ์เด็กและเยาวชน สถานการณ์เด็กและเยาวชน 22 23 ผลการสอบ O NET 0 10 20 30 40 50 60 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2558 2559 2560 2561 2562 2563 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ประถมศึกษาป ที่ 6 มัธยมศึกษาป ที่ 3 มัธยมศึกษาป ที่ 6 ประถมศึกษาป ที่ 6 มัธยมศึกษาป ที่ 3 มัธยมศึกษาป ที่ 6 คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย 0 10 20 30 40 50 60 70 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2558 2559 2560 2561 2562 2563 สัดส วนของนักเรียนได 50 คะแนน ขึ้นไป ร อยละของนักเรียน ที่มา : สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห งชาติ 0 350 400 450 500 PISA2000 PISA2003 PISA2006 PISA2009 PISA2012 PISA20015 PISA2018 การอ่าน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ... 393 426 419 431 436 432 คะแนนเฉลี� ย OECD 487 489 489 ค่าเฉลี� ย กลุ่มประเทศ ที่มา : ผลการประเมิน PISA2018 สถาบันส  งเสริมการสอนวิทยาศาสตร  และเทคโนโลยี (สสวท.) ผลการประเมิน PISA แผนพัฒนาฯ 12 /แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ช่วง 5 ปีแรก ก� ำหนด เป้าหมายผลคะแนน PISA ไม่ต�่่ ำกว่า 500 แผนพัฒนาฯ 12 ก� ำหนดเป้าหมาย สัดส่วนของนักเรียนที่มีคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาทุกระดับชั้นผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 มี จ� ำนวนเพิ่มขึ้น และความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ระหว่างพื้นที่ และภูมิภาค การทดสอบทั้งสองนี้ชี้ในลักษณะเดียวกันว่า นักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับ มีความแตกต่างกันมากและนักเรียนมีคะแนนประเมินที่ดีมีจ� ำนวนน้อย ในรายงาน ผลการประเมิน PISA 2018 ได้สรุปไว้ว่า “...ค่าคะแนนต�่ ำกว่าค่าเฉลี่ยกลุ่มประเทศ OECD ทั้ง 3 ด้านชี้ให้เห็นว่า นักเรียนไทยยังมีความรู้และทักษะที่ไม่เพียงพอต่อการ ด� ำรงชีวิตในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะทักษะด้านการอ่านที่มีผลการ ประเมินน้อยที่สุดในสามด้าน ทั้งที่การอ่านเป็นสิ่งส� ำคัญเพราะเป็นเครื่องมือในการ เรียนรู้ทุกประเภท...” พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติก� ำหนด “ให้ส่งเด็กเข้าการศึกษาจนจบ ภาคบังคับ ต้องจัดการศึกษาให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่า ใช้จ่าย” แต่พบว่ามีเด็กจ� ำนวนมากออกจากการศึกษาก่อนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในทุกปีจากหลายสาเหตุ ยังมีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาที่เงินอุดหนุนไม่ ครอบคลุม ซึ่งเป็นภาระค่าใช้จ่ายส� ำหรับนักเรียนที่ครอบครัวยากจน การให้ทุนช่วย เหลือรูปแบบเดิมก็สามารถช่วยได้เพียงบางส่วน ในส่วนกองทุนกู้ยืมเงินเพื่อการ ศึกษา (กยศ.) ที่มีมานานเป็นการให้กู้ยืมระดับมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป จนมาถึง ปี 2561 มีการตั้งกองทุนเพื่อความเสมอทางการศึกษา (กสศ.) ที่เป็นการให้ทุนช่วย เหลือเพื่อให้เด็กทุกคนเข้าถึงการศึกษาจนจบการศึกษาภาคบังคับ ขจัดปัญหาจาก ความยากจนที่ส่งผลต่อการเข้าถึงการศึกษา ช่วยสร้างความเสมอภาคในการเข้าถึง การศึกษาให้เกิดขึ้นจริง ซึ่งนับเป็นเวลายาวนานกว่าจะมีกองทุนเข้ามาช่วยเหลือ อย่างเป็นทางการและมีความครอบคลุมมากขึ้นในการศึกษาภาคบังคับที่เด็กทุกคน ควรได้รับ นอกจากนี้รัฐยังคงต้องมุ่งจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และทั่วถึงให้เกิดขึ้นจริง จากสภาพปัญหาและแนวโน้มไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มากนักเด็กเก่งมีจ� ำนวนน้อยซึ่งมักได้รับการสนับสนุนส่งเสริมหรือได้โอกาสมากกว่า โดยเฉพาะในกลุ่มที่มีฐานะดีที่มีทั้งโอกาสและทางเลือก ทั้งนี้หากสามารถขจัด ปัญหาเหล่านี้ได้ จะช่วยให้เป้าหมายของการพัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะและทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามแผนการศึกษาแห่งชาตินั้น เกิดขึ้นจริงกับเด็กทุก คนอย่างเท่าเทียมทั่วถึงเช่นเดียวกัน

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==