Children Youth 2021

สถานการณ์เด็กและเยาวชน สถานการณ์เด็กและเยาวชน 38 39 คดีเด็กและเยาวชน เด็กเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นที่เป็นช่วงการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกายและอารมณ์ เป็นวัยอยากรู้อยากลอง ให้ความส� ำคัญและท� ำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนมากขึ้น มีการ เลียนแบบท� ำตามและความต้องการยอมรับจากกลุ่ม จึงมีโอกาสชักชวนหรือถูกชักจูง ไปทั้งในทางที่ดีและไม่ดี แต่หากถูกชักชวนไปในทางผิดมีโอกาสมากที่ส่งผลต่อการ กระท� ำผิดที่มากหรือร้ายแรงขึ้นในวัยถัดไป จากข้อมูลเด็กและเยาวชนที่กระท� ำผิด ถูกด� ำเนินคดีมีจ� ำนวนลดลงต่อเนื่อง แต่อัตราการกระท� ำผิดซ�้ ำยังคงไม่เปลี่ยนแปลง จากเดิม โดยการท� ำผิดซ�้ ำหลังจากปล่อย ในปีแรกอยู่ที่มากกว่าร้อยละ 20 และ เมื่อติดตาม 3 ปี พบว่ามีอัตราการท� ำผิด ซ�้ ำมากกว่าร้อยละ 40 ของจ� ำนวนเด็ก และเยาวชนที่ถูกปล่อยตัว เด็กและเยาวชนที� ถูกดําเนินคดี จํานวนคดีเด็กและเยาวชน 30,273 26,027 22,609 20,842 19,470 2559 2560 2561 2562 2563 45.2% 43.1% 44.5% 0 50% 100% 2558-2561 2559-2562 2560-2563 อัตรากระทําผิดซํ� าหลังปล่อยตัว ติดตาม 3 ป� ที มา : รายงานสถิติคดีรายปี กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เมื่อดูลักษณะของการกระท� ำผิดยังคงเป็นคดีเกี่ยวกับยาเสพติดเป็นส่วนใหญ่ และพิจารณาจากอายุ การศึกษา และอาชีพรวมกันพบว่า เด็กและเยาวชนกระท� ำผิด ส่วนใหญ่คือ กลุ่มที่ไม่ได้เรียนต่อทั้งกลุ่มที่จบเพียงประถมหรือมัธยมต้น และส่วนใหญ่ “สัดส่วนเด็กและเยาวชนกระท� ำผิดซ�้ ำ ยังไม่เปลี่ยนแปลง ความผิดส่วนใหญ่ เกี่ยวกับยาเสพติด และเป็นกลุ่มที่ไม่ได้ เรียนหนังสือ” ลดลงตามเช่นกัน ข้อมูลจากรายงานผลส� ำรวจปีี 2564 เมื่อพิจารณาเฉพาะกลุ่มอายุ 15-19 ปี มีผู้ที่สูบหรือเคยสูบบุหรี่ 278,178 คน ในจ� ำนวนนี้ร้อยละ 19.9 เคยสูบ ครั้งแรกก่อนอายุ 15 ปี และสถานที่ได้หรือซื้อบุหรี่ที่ผลิตจากโรงงานมาสูบครั้งสุดท้าย ส่วนใหญ่เป็นร้านขายของช� ำ ซึ่งเป็นสถานที่เด็กวัยรุ่นกลุ่มนี้ได้หรือซื้อเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เช่นกัน ส่วนสถานที่ดื่มในรอบ 12 เดือนที่แล้วมีทั้งดื่มตามร้าน งานเทศกาล ประเพณี คอนเสิร์ต และงานเลี้ยงในที่สาธารณะ เป็นต้น พฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุรานี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่น� ำให้เด็กวัยรุ่นบางคน เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่ยังคงเป็นปัญหาส� ำคัญในกลุ่มวัยนี้ โดยสถิติคดีเด็กและ เยาวชนมีสัดส่วนคดีอาญาที่เกี่ยวกับยาเสพติดมากที่สุดมาตลอด แต่การที่อัตราของ ผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่และดื่มสุราเพิ่มขึ้นนั้นถือเป็นแนวโน้มที่ดี ซึ่งเป็นผลมาจาก มาตรการและปัจจัยหลายด้านร่วมกัน ทั้งมาตรการทางภาษีที่ท� ำให้บุหรี่และสุรามี ราคาจ� ำหน่ายสูงขึ้น การห้ามโฆษณาหรือส่งเสริมการขาย การห้ามสูบในสถานที่ต่างๆ การเตือนเรื่องพิษภัยนั้นเป็นส่วนช่วยป้องกันผู้สูบหรือนักดื่มรายใหม่ อีกทั้งกระแส ความนิยมในการวิ่งออกก� ำลังกายช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปัจจัยส่วนหนึ่งท� ำให้ผู้ที่สูบบุหรี่ และดื่มสุราในรอบปีที่ผ่านมาลดลงเป็นผลจากที่ภาครัฐก� ำหนดมาตรการควบคุมและ ห้ามจ� ำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพื่อป้องกันแพร่ระบาดของโรคิดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ประกอบกับครัวเรือนมีรายได้ที่ลดลง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 บัญญัติในมาตรา 26 (10) ว่า “ห้ามมิให้กระท� ำการจ� ำหน่าย แลกเปลี่ยน หรือให้สุราหรือบุหรี่แก่เด็ก เว้นแต่การปฏิบัติทางการแพทย์” พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 บัญญัติในมาตรา 29 ว่า “ห้ามมิให้ผู้ใดขาย เครื่องดื่มแอลกอฮอล์แก่บุคคลซึ่งมีอายุต�่ ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์” พ.ร.บ. ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 บัญญัติในมาตรา 26 ว่า “ห้ามผู้ใดขายหรือให้ซึ่ง ผลิตภัณฑ์ยาสูบแก่บุคคลซึ่งมีอายุต�่ ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์.... ห้ามผู้ใดใช้ จ้าง วาน หรือยินยอมให้บุคคลอายุ ต�่ ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ ขายหรือให้ซึ่งผลิตภัณฑ์ยาสูบ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==