ครัวเรือนฐานราก 2562
หน้า l 87 ตาราง�28��ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน�ของภาคเหนือ ปัจจัย กลุ่มครัวเรือน ฐานราก ควินไทล์ 2 ควินไทล์ 3 ควินไทล์ 4 ควินไทล์ 5 ควินไทล์ 5 / ควินไทล์1 (เท่า) ค่าเฉลี่ย/สัดส่วน สถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของ ทรัพย์สินขนาดใหญ่ c 0.291 0.353 (0.000)*** 0.423 0.524 0.729 2.50 2/ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม c 0.046 0.033 (0.038)* 0.030 0.024 0.009 5.14 1/ สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ c 0.014 0.023 (0.048)* 0.019 0.018 0.018 1.29 1/ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจาก คนนอกครัวเรือน (ญาติ) c 0.387 0.446 (0.000)*** 0.46 0.375 0.221 1.75 1/ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน t 8,652 12,599 (0.000)*** 15,567 20,351 44,023 5.08 2/ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน t 10,005 11,711 (0.000)*** 13,505 16,500 27,069 1.71 2/ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน t 58,961 61,815 (0.548) 92,799 (0.000)*** 133,367 412,054 6.98 2/ มูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน t 658,753 918,382 (0.000)*** 1,058,664 1,445,331 2,948,127 4.48 2/ ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน ของภาคเหนือ ประกอบด้วย สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินขนาดใหญ่ สัดส่วน ครัวเรือนที่ไม่มีการออม สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ สัดส่วน ครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน หนี้สินเฉลี่ยต่อ ครัวเรือน และมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ซึ่งทุกตัวแปรมีค่าที่น้อย กว่าครัวเรือนฐานรากในระดับประเทศ อย่างไรก็ตาม เกือบทุกตัวแปรมีความแตกต่างระหว่าง ครัวเรือนฐานรากและควินไทล์ที่ 2 ยกเว้นหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก เนื่องจากไม่มีความแตกต่าง ระหว่างครัวเรือนฐานราก และควินไทล์ที่ 2 หากพิจารณารายตัวแปรตามความต่างกับครัวเรือนในกลุ่ม ควินไทล์ที่ 5 พบว่า ความต่างสูงสุดคือ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนที่ต่าง ถึง 6.98 เท่า รองลงมาคือ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออมที่ 5.14 เท่า และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนที่ 5.08 เท่า “ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน� อาจไม่ได้บ่งบอกถึงความ เป็นครัวเรือนฐานราก ในภาคเหนือ” เป็นที่สังเกตว่าภาคเหนือ มีความแตกต่างของครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มครัวเรือนใน ควินไทล์ที่ 5 ในบางตัวแปรมีความต่างมากกว่าภาพรวมของทั่วประเทศ เช่น สัดส่วนครัวเรือน ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินขนาดใหญ่ (ทั่วประเทศต่าง 2.40 เท่า แต่ภาคเหนือต่าง 2.5 เท่า) สัดส่วน ของครัวเรือนที่ไม่มีการออม (ทั่วประเทศต่าง 2.76 เท่า แต่ภาคกลางต่าง 5.14 เท่า) และมูลค่า ทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน (ทั่วประเทศต่าง 3.54 เท่า แต่ภาคเหนือต่าง 4.48 เท่า) หมายเหตุ : กำ าหนดระดับนัยสำ าคัญทางสถิติ *** 0.001 , ** 0.01 , * 0.05 1/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 1/ควินไทล์ที่ 5 (เท่า) , 2/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 5/ควินไทล์ที่ 1 (เท่า) t หมายถึง ใช้สถิติ t , c หมายถึง ใช้สถิติ chi-square หมายถึง สูงกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ หมายถึง น้อยกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==