ครัวเรือนฐานราก 2562
หน้า l 88 ตาราง�29��ด้านการศึกษาและการทำ�งาน�ของภาคเหนือ ปัจจัย กลุ่มครัวเรือน ฐานราก ควินไทล์ 2 ควินไทล์ 3 ควินไทล์ 4 ควินไทล์ 5 ควินไทล์ 5 /ควินไทล์1 (เท่า) ค่าเฉลี่ย/สัดส่วน การศึกษาและการทำ างาน สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้า ครัวเรือนจบการศึกษาระดับประถม ศึกษาหรือตำ่ ากว่า c 0.685 0.699 (0.006)** 0.704 0.625 0.308 2.23 1/ สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้า ครัวเรือนทำ างานในภาคเกษตร c 0.795 0.586 (0.000)*** 0.499 0.342 0.169 4.71 1/ ด้ านการศึกษาและการทำ างาน ของภาคเหนือ ประกอบด้วย สัดส่วน ครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนที่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำ ากว่า (น้อย กว่าครัวเรือนฐานรากในระดับประเทศ) และสัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้า ครัวเรือนที่ทำ างานในภาคเกษตร (สูงกว่าครัวเรือนฐานรากในระดับประเทศ) ซึ่งทั้งสองตัวแปร มีความแตกต่างระหว่างครัวเรือนฐานรากและควินไทล์ที่ 2 นั่นคือ ทั้งสองตัวแปรสามารถบ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากได้เหมือนกัน แต่ สัดส่วนครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนที่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือ ต่ำ ากว่า บ่งบอกที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ขณะที่สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้า ครัวเรือนที่ทำ างานในภาคเกษตร บ่งบอกที่ระดับความเชื่อมั่น 99.9% เมื่อพิจารณาความต่างกับครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 พบว่า สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนที่ทำ างานในภาคเกษตรต่างกัน 4.71 เท่า และสัดส่วนครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนที่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือ ต่ำ ากว่าต่างกัน 2.23 เท่า ซึ่งความต่างทั้งสองตัวแปรต่ำ ากว่าระดับประเทศที่ 6.92 และ 3.67 เท่า ตามลำ าดับ “กลุ่มครัวเรือนฐานราก� ในภาคเหนือมีสัดส่วน ของครัวเรือนที่หัวหน้า ครัวเรือนทำ�งานใน ภาคเกษตรมากกว่า กลุ่มครัวเรือนฐานราก ทั่วประเทศ” ด้านลักษณะครัวเรือนอื่น ๆ ของภาคเหนือ ประกอบด้วย สัดส่วน ครัวเรือนที่ดื่มน้ำ าไม่สะอาด สัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งทั้ง สองตัวแปรมีค่าสูงกว่าครัวเรือนฐานรากในภาพรวมทั่วประเทศ โดยทั้งสอง ตัวแปร มีความแตกต่างระหว่างครัวเรือนฐานรากและควินไทล์ที่ 2 นั่นคือ สัดส่วนครัวเรือนที่ดื่มน้ำ าไม่สะอาด และสัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่ใช้ อินเทอร์เน็ต บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากได้เหมือนกัน แต่ สัดส่วน ครัวเรือนที่ดื่มน้ำ าไม่สะอาด บ่งบอกที่ระดับความเชื่อมั่น 99.9% ขณะที่สัดส่วน ของครัวเรือนที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตบ่งบอกที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เมื่อพิจารณาความต่างกับครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่5 พบว่า สัดส่วน ครัวเรือนที่ดื่มน้ำ าไม่สะอาดมีความต่างถึง 5.61 เท่า และสัดส่วนของครัวเรือนที่ ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตต่างกัน 3.57 เท่า ซึ่งความต่างทั้งสองตัวแปรต่ำ ากว่าระดับ ประเทศที่ 7.06 และ 4.87 เท่า ตามลำ าดับ “ปัจจัยทางด้านลักษณะ ครัวเรือนอื่นๆ�สามารถ บ่งบอกถึงความเป็นครัวเรือน ฐานรากได้ในทุก�ๆ�ตัวแปร� หากแต่�สัดส่วนครัวเรือน ที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต� สามารถบ่งบอกความเป็น ครัวเรือนฐานรากได้ที่ ระดับความเชื่อมั่น�95%” เป็นที่สังเกตว่าภาคเหนือ มีความแตกต่างของครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มครัวเรือน ในควินไทล์ที่ 5 ในทุกตัวแปรที่น้อยกว่าภาพรวมทั่วประเทศ เป็นที่สังเกตว่าภาคเหนือ มีความแตกต่างของครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มครัวเรือนใน ควินไทล์ที่ 5 ในทุกตัวแปรที่น้อยกว่าภาพรวมทั่วประเทศ หมายเหตุ : กำ าหนดระดับนัยสำ าคัญทางสถิติ *** 0.001 , ** 0.01 , * 0.05 1/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 1/ควินไทล์ที่ 5 (เท่า) , 2/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 5/ควินไทล์ที่ 1 (เท่า) t หมายถึง ใช้สถิติ t , c หมายถึง ใช้สถิติ chi-square หมายถึง สูงกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ หมายถึง น้อยกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==