ครัวเรือนฐานราก 2562

หน้า l 98 ตาราง�37��ด้านลักษณะของคนในครัวเรือน�ของภาคใต้ เมื่อพิจารณาระดับภาค ในส่วนของภาคใต้ พบว่ากลุ่มครัวเรือนฐานรากตามปัจจัยต่าง ๆ ทั้ง 5 ด้าน แต่ละด้านมีผลดังนี้ ปัจจัย กลุ่มครัวเรือน ฐานราก ควินไทล์ 2 ควินไทล์ 3 ควินไทล์ 4 ควินไทล์ 5 ควินไทล์ 5 / ควินไทล์1 (เท่า) ค่าเฉลี่ย/สัดส่วน ลักษณะของคนในครัวเรือน ขนาดครัวเรือน t 3.788 3.192 (0.000)*** 2.830 2.467 2.102 1.80 1/ จำ านวนสมาชิกในครัวเรือน ที่เป็นเด็ก t 1.141 0.653 (0.000)*** 0.466 0.341 0.220 5.20 1/ จำ านวนสมาชิกในครัวเรือน ที่เป็นผู้สูงอายุ t 0.645 0.675 (0.330) 0.564 (0.0007)*** 0.437 0.436 1.48 1/ ความหนาแน่นของจำ านวน สมาชิกต่อห้องนอน t 2.395 1.960 (0.000)*** 1.674 1.437 1.198 1.99 1/ อัตราพึ่งพิง t 0.949 0.702 (0.000)*** 0.521 0.397 0.348 2.73 1/ สัดส่วนคนทำ างานหารายได้ t 0.429 0.520 (0.000)*** 0.616 0.711 0.751 1.75 2/ ด้านลักษะของคนในครัวเรือน ประกอบด้วย ขนาด ครัวเรือนเฉลี่ย จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็ก (อายุ 0-14 ปี) จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุ อัตราพึ่งพิง (สัดส่วนของ สมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็กและผู้สูงอายุต่อจำ านวนผู้อยู่ในวัยแรงงาน) สัดส่วนคนทำ างานหารายได้ และความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อ ห้องนอน ซึ่งตัวแปรขนาดครัวเรือน จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น เด็ก และความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอน มีค่าที่สูงกว่า ครัวเรือนฐานรากในระดับประเทศ อย่างไรก็ตาม เกือบทุกตัวแปรมีความแตกต่างระหว่าง ครัวเรือนฐานรากและควินไทล์ที่ 2 ยกเว้น จำ านวนสมาชิกในครัวเรือน ที่เป็นผู้สูงอายุที่ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก เนื่องจาก ไม่มีความแตกต่างระหว่างครัวเรือนฐานรากและควินไทล์ที่ 2 เมื่อพิจารณารายตัวแปรตามความต่างกับครัวเรือนในกลุ่ม ควินไทล์ที่ 5 พบว่า ความต่างสูงสุด คือ จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็น เด็กเฉลี่ยของครัวเรือนฐานรากมีความต่างถึง 5.2 เท่า รองลงมาคืออัตรา พึ่งพิง 2.7 เท่า และความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอน 2 เท่า “ จำ�นวนสมาชิก ในครัวเรือน ที่เป็นผู้สูงอายุ�ไม่ได้ บ่งบอกความเป็น ครัวเรือนฐานราก ในภาคใต้” เป็นที่น่าสังเกตว่าภาคใต้ มีความแตกต่างของครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มครัวเรือนใน ควินไทล์ที่ 5 ในเกือบทุกตัวแปรที่มากกว่าภาพรวมทั่วประเทศ ยกเว้นจำ านวนสมาชิกในครัวเรือน ที่เป็นเด็ก จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุ และอัตราพึ่งพิงที่มีความแตกต่างน้อยกว่า ภาพรวมทั่วประเทศ ภาคใต้ หมายเหตุ : กำ าหนดระดับนัยสำ าคัญทางสถิติ *** 0.001 , ** 0.01 , * 0.05 1/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 1/ควินไทล์ที่ 5 (เท่า) , 2/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 5/ควินไทล์ที่ 1 (เท่า) t หมายถึง ใช้สถิติ t , c หมายถึง ใช้สถิติ chi-square หมายถึง สูงกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ หมายถึง น้อยกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==