ครัวเรือนฐานราก 2562

หน้า l 1 แผนภูมิ�1��สัดส่วนคนจน�จำ�นวนคนจน�และเส้นความยากจน�พ.ศ.�2552�-�2562 สัดส่วนคนจน (ร้อยละ) จำ �นวนคนจน (ล้�นคน) เส้นคว�มย�กจน (บ�ท/คน/เดือน) 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0 ที่มา : สำ านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ บทนำ � ปัจจุบันในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความผันผวนของระบบเศรษฐกิจ ทั้งในระดับประเทศและระดับโลก การเติบโตอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยี สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อ การปรับตัวของประชากรทั้งสิ้น โดยผู้ที่สามารถปรับตัวหรือรับมือกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไปได้ อย่างทันท่วงทีและเหมาะสม จะสามารถลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ในทางกลับกันหากไม่สามารถปรับตัวได้ทันจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจ จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ การทำ างาน หรือปัญหาอื่น ๆ ได้ โดยปัญหาที่สำ าคัญประการหนึ่ง ที่อาจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว หากปรับตัวไม่ทัน คือปัญหาความยากจน ซึ่งเดิมทีปัญหาดังกล่าวเป็น ปัญหาที่อยู่กับสังคมไทยและสั่งสมมานาน ซึ่งที่มาของปัญหาส่วนหนึ่งมาจากความไม่เสมอภาค ด้านรายได้ และความไม่เสมอภาคด้านโอกาส และเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการพัฒนาในระดับ ประเทศ จำ าเป็นต้องอาศัยทรัพยากรอย่างมากในการแก้ปัญหา ถึงแม้ว่าประเทศไทยพยายามแก้ไข ปัญหานี้มาอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยังไม่สามารถขจัดปัญหาความยากจนไปจากประเทศได้อย่าง แท้จริง ทั้งนี้ รัฐบาลก็ไม่ได้เพิกเฉยกับปัญหาดังกล่าว โดยกำ าหนดเป็นประเด็นปัญหาที่สำ าคัญใน การพัฒนาประเทศ ดังเห็นได้จาก เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่ใช้เป็นกรอบเป้าหมายอนาคตของ ประเทศไทยปี 2579 (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี) เป็นหนึ่งในเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) สะท้อนให้เห็นว่ายังเป็นปัญหาที่ภาครัฐให้ความสำ าคัญ และควรได้รับการดำ าเนินการแก้ไขต่อไป หากพิจารณาสถานการณ์ความยากจนในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา พบว่า มีแนวโน้มใน ทางที่ดีขึ้น (แผนภูมิ 1) โดยในปี 2552 มีจำ านวนคนจนที่มีรายได้ตำ่ ากว่าเส้นความยากจน 11.6 ล้านคน ลดลงเหลือเพียง 4.3 ล้านคนในปี 2562 หรือสัดส่วนคนจนลดลงจากร้อยละ 17.9 ในปี 2552 เหลือเพียงร้อยละ 6.2 ในปี 2562

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==