ครัวเรือนฐานราก 2562

หน้า l 8 (11) การบันเทิง การอ่าน และกิจกรรมทางศาสนา ได้แก่ ค่าซื้ออุปกรณ์การบันเทิง และกีฬา รวมรองเท้ากีฬา ค่าซื้อเครื่องเล่น สัตว์เลี้ยง ไม้ประดับ ค่าผ่านประตูดูภาพยนตร์ กีฬา การแสดง สวนสนุก พิพิธภัณฑ์ ฯลฯ ค่าเรียนและเล่นกีฬา ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการอ่าน ยกเว้นหนังสือเรียน และค่าอาหาร/ของถวายพระ/ไหว้เจ้า (12) การจัดงานพิธีในโอกาสพิเศษ ได้แก่ ค่าจัดงานแต่งงาน งานวันเกิด งานบวช งานศพและอื่น ๆ 2) ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค ได้แก่ (1) ภาษีเงินได้ ภาษีบำ ารุงท้องที่ ค่าบริการทางการเงิน ค่าธรรมเนียม/ค่าปรับทาง กฎหมาย/ค่าทนายความ (2) ค่าสมาชิกกลุ่มอาชีพ เช่น สหภาพแรงงาน กลุ่มเกษตรกรฯ (3) เงิน/สิ่งของ ที่ส่งให้บุคคลนอกครัวเรือน (4) ) เงินบริจาค/ซื้อสิ่งของให้แก่องค์กรและมูลนิธิต่าง ๆ (5) เงินทำ าบุญ เงินช่วยงานอื่นๆ เช่น งานบวช งานแต่ง ของขวัญ ฯลฯ (6) ค่าเบี้ ยประกันภัย/ทรัพย์สิน/ประกันชีวิต (ไม่รวมประเภทสะสมทรัพย์ ) เงินฌาปนกิจศพ และเงินสมทบประกันสังคม (7) เงินซื้อสลากกินแบ่ง/หวย เล่นม้าแข่งและการพนันอื่น ๆ (8) ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยแชร์ (9) อื่น ๆ เช่น เงินชดเชยค่าเสียหาย เงินตกหาย/ถูกขโมย ค่านายหน้า ค่าขนย้ายบ้าน สถานะทางเศรษฐสังคมของครัวเรือน ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้จัดจำ าแนกครัวเรือนออกเป็นกลุ่มตามสถานะทางเศรษฐสังคม โดยการจำ าแนกตามสถานะทางเศรษฐสังคมนี้ จะพิจารณาจากแหล่งรายได้ส่วนใหญ่ของครัวเรือน สถานภาพการทำ างาน อาชีพหลัก และประเภทกิจกรรมในเชิงเศรษฐกิจของอาชีพหลัก ซึ่งสามารถ แบ่งครัวเรือนออกมาได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน หรือ ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภค บริโภค และค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค ซึ่งมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1) ผู้ถือครองทำ าการเกษตร (รวมการทำ าประมงทะเล) 2) ผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==