ครัวเรือนฐานราก 2562
หน้า l 47 อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่าสังเกตว่าอัตราการเพิ่มเฉลี่ยของรายได้จากเงินช่วยเหลือ สงเคราะห์ของกลุ่มครัวเรือนฐานราก ในช่วง 10 ปี มีอัตราการเพิ่มสูง คิดเป็นร้อยละ 8.1 ซึ่งสูงกว่า อัตราการเพิ่มเฉลี่ยของรายได้จากแหล่งอื่น ๆ ทั้งนี้ ภาครัฐอาจจะต้องมองไปยังนโยบายเกี่ยวกับ เงินช่วยเหลือต่าง ๆ หรือการกระตุ้นรายได้ของครัวเรือนฐานรากเป็นสำ าคัญ อย่างไรก็ตาม นโยบาย เกี่ยวกับเงินช่วยเหลือ อาจช่วยพยุงเศรษฐกิจของครัวเรือนฐานรากได้เพียงระยะสั้นเท่านั้น ยังคงต้องพึ่งพานโยบายการแก้ปัญหาในระยะยาวควบคู่ไปด้วย ภาพ�21�แหล่งที่มาของรายได้ของกลุ่มครัวเรือนฐานราก�พ.ศ.�2552�-�2562 ภาพ�22�อัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้ของกลุ่มครัวเรือนฐานราก�พ.ศ.�2552�-�2562 ก ำ า ไรสุ ทธิ จากการท ำ า เกษตรลดลง พึ่งเงินช่วยเหลือเพิ่มขึ้น รายได้จากทรัพย์สินน้อยที่สุดและไม่เปลี่ยนแปลง ในช่วง�8�ปี�(52-62)�กลุ่มครัวเรือนฐานราก�(QU1) พึ่งพิงเงินช่วยเหลือเพิ่มขึ้น อัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้ ของกลุ่มครัวเรือนฐานราก �(ปี�52-62) แหล่งที่มาของรายได้ ของกลุ่มครัวเรือนฐานราก�(QU1) ปี�2552 ปี�2562 รายได้ที่ไม่เป็นตัวเงิน เงินได้รับเป็นการช่วยเหลือ� รายได้จากทรัพย์สิน ค่าจ้างและเงินเดือน กำ�ไรสุทธิจากการทำ�เกษตร รายได้ไม่ประจำ� (ที่เป็นตัวเงิน) กำ�ไรสุทธิจากการทำ�ธุรกิจ� 34.1 29.2 22.1 24.2 17.5 24.1 15.9 11.9 6.5 7.8 3.6 2.6 0.3 0.3 หน่วย�:�ร้อยละ ที่มา : การสำ ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2562 ที่มา : การสำ ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2562 2.0 6.0 8.0 4.0 8.1 เงินได้รับเป็นการช่วยเหลือ 6.6 กำ�ไรสุทธิจากการทำ�ธุรกิจ 5.7 ค่าจ้างและเงินเดือน 3.1 1.7 2.7 1.2 รายได้ที่ไม่เป็นตัวเงิน รายได้จากทรัพย์สิน กำ�ไรสุทธิจากการทำ�เกษตร รายได้ไม่ประจำ�ที่เป็นตัวเงิน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==