ครัวเรือนฐานราก 2562
หน้า l 53 หากพิจารณาถึงโครงสร้างครัวเรือน พบว่า กลุ่มครัวเรือนฐานรากมีขนาดครัวเรือนเล็กลง สังเกตได้จากจำ านวนสมาชิกเฉลี่ยต่อครัวเรือน จาก 4.01 คนต่อครัวเรือน ในปี 2552 เป็น 3.45 ในปี 2562 ซึ่งครัวเรือนกลุ่มอื่น ๆ ก็มีขนาดเล็กลงอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน แต่สิ่งที่โครงสร้าง ของกลุ่มครัวเรือนฐานรากแตกต่างจากครัวเรือนกลุ่มอื่น ๆ คือ อัตราการพึ่งพึงที่สูงขึ้น (จาก 0.96 ในปี 2552 เป็น 1.00 ในปี 2562) ขณะที่ครัวเรือนกลุ่มอื่น ๆ มีอัตราการพึ่งพิงที่ลดลง สะท้อน ให้เห็นว่า กลุ่มครัวเรือนฐานราก มีแนวโน้มที่จะมีสัดส่วนของวัยเด็ก และวัยผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น มากกว่า วัยแรงงาน ... มองโครงสร้างครัวเรือน� :�แม้ว่ากลุ่มครัวเรือนฐานรากมีจำ�นวน สมาชิกเฉลี่ยต่อครัวเรือนน้อยลง�แต่ยังมีอัตราการพึ่งพิงสูงขึ้น�และสูงกว่า ครัวเรือนกลุ่มอื่น�ๆ� ... ภาพ�28��จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยของกลุ่มครัวเรือนฐานรากและ � �อัตราการพึ่งพิง�พ.ศ.�2552�-�2562 1.20 1.00 0.80 0.60 0.40 0.20 0.00 4.10 4.00 3.90 3.80 3.70 3.60 3.50 3.40 3.30 3.20 3.10 0.96 0.78 0.60 0.43 0.34 4.01 3.89 3.76 3.63 3.60 3.45 0.29 0.34 0.54 0.74 1.00 0.95 0.94 0.93 0.95 อัตราการพึ่ งพิง จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย ของกลุ่มครัวเรือนฐานราก 2552 2554 2556 2558 2560 2562 กลุ่มครัวเรือน ฐานราก QU 2 QU 3 QU 4 QU 5 ที่มา : การสำ ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2562 หมายเหตุ: อัตราพึ่งพิง คำ านวณจาก อัตราส่วนของประชากรวัยเด็ก (0-14 ปี) รวมวัยผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ต่อประชากรวัยแรงงาน (15-59 ปี)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==