ครัวเรือนฐานราก 2562

หน้า l 67 �����วิธีที่ใช้ในการวิเคราะห์ การศึกษาครั้งนี้ใช้สถิติเชิงอนุมานในการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ อันได้แก่ กลุ่มครัวเรือน ฐานรากกับกลุ่มครัวเรือนอื่น โดยการวิเคราะห์จะให้ความสำ าคัญกับกลุ่มควินไทล์ที่ใกล้เคียงกับ ครัวเรือนฐานรากเป็นหลัก ดังนั้นในการศึกษาจึงเริ่มจากการเปรียบเทียบกลุ่มครัวเรือนฐานราก กับกลุ่มควินไทล์ที่ 2 ก่อน หากมีลักษณะของปัจจัยด้านต่าง ๆ ที่ไม่แตกต่างกัน จึงจะทำ าการศึกษา กลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 3 4 และ 5 ตามลำ าดับ โดยในการวิเคราะห์ใน แต่ละปัจจัยใช้สถิติ ดังนี้ี้ • ตัวแปรแบบจัดประเภท (categorical variable) ด้วยกัน ใช้สถิติไคสแควร์ (chi-square) • ตัวแปรแบบจัดประเภทกับตัวแปรเชิงปริมาณ ใช้การทดสอบที (t-test) สำ าหรับข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ในส่วนนี้ เป็นข้อมูลที่ไม่มีการถ่วงนำ้ าหนักจำ านวนครัวเรือน �����การแปลผลการวิเคราะห์ หากพิจารณาจากค่าระดับนัยสำ าคัญหรือค่า Sig. เป็นดังนี้ • หากค่า Sig. มีค่าน้อยกว่า 0.05 แสดงว่า ครัวเรือนฐานรากมีปัจจัยนั้น ๆ แตกต่าง จากครัวเรือนกลุ่มอื่น ๆ (ควินไทล์ที่ 2 - ควินไทล์ที่ 5) • หากค่า Sig. มีค่ามากกว่า 0.05 แสดงว่า ครัวเรือนฐานรากมีปัจจัยนั้น ๆ ไม่แตกต่าง จากครัวเรือนกลุ่มอื่น ๆ (ควินไทล์ที่ 2 - ควินไทล์ที่ 5) หากพิจารณาจากตารางนำ าเสนอผลการวิเคราะห์ • ส่วนที่ไฮไลท์สีเหลือง หมายถึง ครัวเรือนในกลุ่มนั้น มีปัจจัยนั้น ๆ เหมือนกัน • ส่วนที่ไม่ไฮไลท์สี หมายถึง ครัวเรือนในกลุ่มนั้น มีปัจจัยนั้น ๆ ต่างจากครัวเรือนในกลุ่มอื่น ๆ **ในการเปรียบเทียบครั้งนี้ หาก พบว่า ครัวเรือนฐานรากคู่ใดแตกต่างกัน จะหยุดการทดสอบ ที่คู่นั้น ภายใต้ข้อสมมติว่า ครัวเรือนฐานรากน่าจะมีความต่างจากครัวเรือนในคู่ถัดไปด้วยเช่นกัน **ถ้าครัวเรือนฐานรากแตกต่างจากควินไทล์ที่ 2 แสดงว่า ปัจจัยนั้นน่าจะบ่งบอกความเป็น ครัวเรือนฐานรากได้ในระดับหนึ่ง **ในที่ นี้ พิจารณาเรื่ องความเหลื่ อมล้ ำ า จากความต่างระหว่างกลุ่ มครัวเรือนฐานราก กับควินไทล์ที่ 5

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==