ครัวเรือนฐานราก 2562
หน้า l 75 ตาราง�18��ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน�ของกรุงเทพฯและ�3�จังหวัด ปัจจัย กลุ่มครัวเรือน ฐานราก ควินไทล์ 2 ควินไทล์ 3 ควินไทล์ 4 ควินไทล์ 5 ควินไทล์ 5 / ควินไทล์1 (เท่า) ค่าเฉลี่ย/สัดส่วน สถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของ ทรัพย์สินขนาดใหญ่ c 0.245 0.337 (0.000)*** 0.389 0.507 0.795 3.25 2/ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม c 0.101 0.067 (0.000)*** 0.052 0.059 0.065 1.56 1/ สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ c 0.068 0.040 (0.005)*** 0.040 0.037 0.045 1.50 1/ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจาก คนนอกครัวเรือน (ญาติ) c 0.267 0.153 (0.045)* 0.12 0.119 0.098 2.71 1/ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน t 20,824 26,748 (0.000)*** 31,089 39,246 73,343 3.52 2/ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน t 20,218 28,820 (0.000)*** 26,765 32,063 53,589 2.65 2/ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน t 69,781 124,716 (0.000)* 131,862 219,804 425,355 6.09 2/ มูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน t 940,899 993,857 (0.632) 1,394,337 (0.000)*** 2,126,197 4,680,703 4.97 2/ ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน ของกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด ประกอบด้วย สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินขนาดใหญ่ สัดส่วน ครัวเรือนที่ไม่มีการออม สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ สัดส่วนครัวเรือน ที่ได้รับเงินจากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน และมูลค่าทรัพย์สิน เฉลี่ยต่อครัวเรือน ซึ่งเกือบทุกตัวแปรมีค่าสูงกว่าครัวเรือนฐานรากในระดับ ประเทศ ยกเว้น สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินขนาดใหญ่ สัดส่วน ครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) และมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อ ครัวเรือน อย่างไรก็ตาม เกือบทุกตัวแปรมีความแตกต่างระหว่างครัวเรือน ฐานรากและควินไทล์ที่ 2 ยกเว้นมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ไม่ได้บ่งบอก ความเป็นครัวเรือนฐานราก เนื่องจาก ไม่มีความแตกต่างระหว่างครัวเรือน ฐานรากและควินไทล์ที่ 2 หากพิจารณารายตัวแปรตามความต่างกับครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ ที่ 5 พบว่า ความต่างสูงสุดคือ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนที่ต่างถึง 6.09 เท่า รองลงมาคือมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนที่ 4.97 และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือนที่ 3.52 เท่า “ มูลค่าทรัพย์สิน เฉลี่ยต่อครัวเรือน� ไม่ได้บ่งบอกถึง ความเป็นครัวเรือน ฐานรากใน�กทม.� และ�3�จังหวัด” เป็นที่สังเกตว่ากรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัด มีความแตกต่างของครัวเรือนฐานรากกับกลุ่ม ครัวเรือนในควินไทล์ที่ 5 ในเกือบทุกตัวแปรที่น้อยกว่าภาพรวมทั่วประเทศ ยกเว้น สัดส่วนครัวเรือนที่ เป็นเจ้าของทรัพย์สินขนาดใหญ่ (ทั่วประเทศต่าง 2.40 เท่า แต่ กทม.และ 3 จังหวัดต่าง 3.25 เท่า) และมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน (ทั่วประเทศต่าง 3.54 เท่า แต่ กทม.และ 3 จังหวัดต่าง 4.97 เท่า) ที่มีความแตกต่างมากกว่าภาพรวมทั่วประเทศ หมายเหตุ : กำ าหนดระดับนัยสำ าคัญทางสถิติ *** 0.001 , ** 0.01 , * 0.05 1/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 1/ควินไทล์ที่ 5 (เท่า) , 2/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 5/ควินไทล์ที่ 1 (เท่า) t หมายถึง ใช้สถิติ t , c หมายถึง ใช้สถิติ chi-square หมายถึง สูงกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ หมายถึง น้อยกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==