ครัวเรือนฐานราก 2562

หน้า l 81 ตาราง�23��ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน�ของภาคกลาง ปัจจัย กลุ่มครัวเรือน ฐานราก ควินไทล์ 2 ควินไทล์ 3 ควินไทล์ 4 ควินไทล์ 5 ควินไทล์ 5 / ควินไทล์1 (เท่า) ค่าเฉลี่ย/สัดส่วน สถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของ ทรัพย์สินขนาดใหญ่ c 0.287 0.410 (0.000)*** 0.466 0.481 0.734 2.55 2/ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม c 0.097 0.064 (0.000)*** 0.052 0.057 0.024 4.00 1/ สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ c 0.052 0.057 (0.441) 0.041 (0.076) 0.033 (0.002)** 0.017 3.09 1/ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจาก คนนอกครัวเรือน (ญาติ) c 0.365 0.288 (0.000)*** 0.22 0.168 0.123 2.95 1/ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน t 11,237 18,419 (0.000)*** 22,926 27,841 55,516 4.94 2/ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน t 12,745 16,573 (0.000)*** 19,361 21,977 32,476 2.54 2/ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน t 60,272 92,195 (0.000)*** 96,869 139,179 355,377 5.89 2/ มูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน t 908,557 1,086,526 (0.000)*** 1,249,555 1,598,039 3,027,020 3.33 2/ ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน ของภาคกลางประกอบ ด้วย สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินขนาดใหญ่ สัดส่วนครัวเรือนที่ ไม่มีการออม สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงิน จากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย ต่อเดือนของครัวเรือน หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน และมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อ ครัวเรือน ซึ่งตัวแปรสัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้ นอกระบบ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของ ครัวเรือน มีค่าที่สูงกว่าครัวเรือนฐานรากในระดับประเทศ โดยเกือบทุกตัวแปร มีความแตกต่างระหว่างครัวเรือนฐานรากและควินไทล์ที่2ยกเว้นสัดส่วนครัวเรือน ที่มีหนี้นอกระบบ ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก เนื่องจากไม่มีความ แตกต่างระหว่างครัวเรือนฐานราก และ ควินไทล์ที่ 2 และควินไทล์ที่ 3 หากพิจารณารายตัวแปรตามความต่างกับครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ ที่ 5 พบว่า ความต่างสูงสุดคือ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนที่ต่างถึง 5.89 เท่า รองลงมาคือรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนที่ 4.94 เท่า และสัดส่วน ครัวเรือนที่ไม่มีการออม 4 เท่า “ สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้ นอกระบบอาจไม่ได้ บ่งบอกถึงความ เป็นครัวเรือนฐานราก” เป็นที่สังเกตว่าภาคกลาง มีความแตกต่างของครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มครัวเรือนในควินไทล์ ที่ 5 ในบางตัวแปรที่มีความต่างมากกว่าภาพรวมของทั่วประเทศ เช่น สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของ ทรัพย์สินขนาดใหญ่ (ทั่วประเทศต่าง 2.40 เท่า แต่ภาคกลางต่าง 2.55 เท่า) สัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่มี การออม (ทั่วประเทศต่าง 2.76 เท่า แต่ภาคกลางต่าง 4 เท่า) สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ (ทั่วประเทศต่าง 1.73 เท่า แต่ภาคกลางต่าง 3.09 เท่า) และสัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอก ครัวเรือน (ญาติ) (ทั่วประเทศต่าง 2.88 เท่า แต่ภาคกลางต่าง 2.95 เท่า) หมายเหตุ : กำ าหนดระดับนัยสำ าคัญทางสถิติ *** 0.001 , ** 0.01 , * 0.05 1/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 1/ควินไทล์ที่ 5 (เท่า) , 2/ หมายถึง ควินไทล์ที่ 5/ควินไทล์ที่ 1 (เท่า) t หมายถึง ใช้สถิติ t , c หมายถึง ใช้สถิติ chi-square หมายถึง สูงกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ หมายถึง น้อยกว่าครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ “ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน �มีความต่างมากที่สุด �เมื่อเทียบกับตัวแปรอื่น�ๆ”

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==