ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2564

หน้า l 95 ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2564 ภาพ�37��สรุปคุณลักษณะครัวเรือนฐานรากที่สำ�คัญ�5�ด้าน�ภาคเหนือ�พ.ศ.�2564 ภาคเหนือ เชียงราย แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ เชียงใหม่ ลำ�พูน ตาก อุทัยธานี สุโขทัย พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ กำ�แพงเพชร นครสวรรค์ ลำ�ปาง พะเยา แพร่ น่าน 3�ลำ�ดับแรก�ที่ต่างจาก�QU�5�มากที่สุด (1)�สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม�>�QU�5�� �����7.40�เท่า (2)�สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ�>�QU�5�� �����2.00�เท่า (3)�สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอก������ �����ครัวเรือน�(ญาติ)�>�QU�5��1.86�เท่า สัดส่วนครัวเรือนที่ เป็นเจ้าของทรัพย์สิน ขนาดใหญ่� หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน� และ สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ� ไม่ได้� บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก ด้านลักษณะครัวเรือนอื่น�ๆ สัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต� ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก สัดส่วนของครัวเรือนที่ดื่มน้ำ าไม่สะอาด� ต่างจาก�QU�5��6.78�เท่า สัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต� ต่างจาก�QU�5��3.70�เท่า มีความเหลื่อมล้ำ�ในตัวแปรสัดส่วนคน ทำ�งานหารายได้�สูงกว่ากลุ่มครัวเรือน ฐานรากทั่วประเทศ 3�ลำ�ดับแรก�ที่ต่างจาก�QU�5�มากที่สุด (1)�จำ�นวนเด็กในครัวเรือนเฉลี่ย�>�QU5��3.90�เท่า (2)�ความหนาแน่นของจำ�นวนสมาชิกต่อห้องนอน�>� QU5 1.76�เท่า (3)�ขนาดครัวเรือน�>�QU5��1.55�เท่า ด้านลักษณะของคนในครัวเรือน ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน ด้านการศึกษาและการทำ�งาน ด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน (ตามหมวด) สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนทำ�งาน ในภาคเกษตร� ต่างจาก� QU5� เกือบ� 4� เท่า� (3.80�เท่า) ค่า ใช้จ่ายในหมวดเ วชภัณฑ์และค่ารักษา พยาบาล�หมวดการศึกษา�และหมวดการจัดงาน พิเศษ�ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก กลุ่มครัวเรือนฐานรากมีค่าใช้จ่ายเกือบทุก หมวดน้อยกว่ากลุ่มควินไทล์ที่�5 สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนจบ การศึกษาระดับประถมหรือต่ำ�กว่า� ต่างจาก� QU5 2.26�เท่า

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==