ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2564

หน้า l 104 ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2564 ด้านลักษณะของคนในครัวเรือน ประกอบด้วย ขนาดครัวเรือน จำ านวนสมาชิก ในครัวเรือนที่เป็นเด็ก (อายุ 0 - 14 ปี) จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุ ความหนาแน่น ของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอน อัตราพึ่งพิง (สัดส่วนของสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็กและ ผู้สูงอายุต่อจำ านวนผู้อยู่ในวันแรงงาน) และสัดส่วนคนทำ างานหารายได้ เมื่อพิจารณาคุณลักษณะของครัวเรือนในประเด็นด้านลักษณะของคนในครัวเรือน แล้วจะเห็นว่า กลุ่มครัวเรือนฐานรากมีขนาดครัวเรือน จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็ก ความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอน และสัดส่วนคนทำ างานหารายได้ แตกต่างจาก ครัวเรือนกลุ่มควินไทล์ที่ 2 นั่นคือสามารถบ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากได้ที่ระดับความ เชื่อมั่น 99.9% ในขณะที่มี จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุ ไม่แตกต่างจากครัวเรือน กลุ่มควินไทล์ที่ 2 และ 3 รวมถึงมี อัตราพึ่งพิง ที่ไม่แตกต่างจากครัวเรือนกลุ่มใดเลย นั่นคือ ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากได้ดีนัก ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยและสัดส่วน ระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 พบความต่างสูงสุดคือ กลุ่มครัวเรือน ฐานรากมีจำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็กมากกว่า กลุ่มควินไทล์ที่ 5 ที่ 5.89 เท่า รองลงมา คือ ความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอนที่ 2.17 เท่า และขนาดครัวเรือนที่่ 1.90 เท่า เป็นที่น่าสังเกตว่า ความแตกต่างระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ในภาคใต้ ต่ำ ากว่ าความแตกต่างระหว่ างกลุ่ มครัวเรือนฐานรากกับกลุ่ มควินไทล์ที่ 5 ในภาพรวมทั่วประเทศ เกือบทุกตัวแปร ยกเว้นตัวแปรขนาดครัวเรือน จำ านวนสมาชิกใน ครัวเรือนที่เป็นเด็ก และความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอน ที่ความแตกต่างในภาคใต้ มีค่าสูงกว่าความแตกต่างภาพรวมทั่วประเทศ ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน ประกอบด้วย สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของ ทรัพย์สินขนาดใหญ่ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ สัดส่วน ครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ค่าใช้จ่าย เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน และมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน เมื่อพิจารณาคุณลักษณะของครัวเรือนในประเด็นด้านสถานะทางเศรษฐกิจของ ครัวเรือนแล้ว จะเห็นว่า กลุ่มครัวเรือนฐานรากมีสัดส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินขนาดใหญ่ สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอกครัวเรือน (ญาติ) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน และมูลค่าทรัพย์สิน เฉลี่ยต่อครัวเรือน แตกต่างจากครัวเรือนกลุ่มควินไทล์ที่ 2 นั่นคือสามารถบ่งบอกความเป็น ครัวเรือนฐานรากได้ ในขณะที่มี สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม และ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ไม่แตกต่างจากครัวเรือนกลุ่มควินไทล์ที่ 2 นั่นคือ ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก “ จำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่ เป็นผู้สูงอายุ�และ�อัตราพึ่งพิง ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากในภาคใต้” “ สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม�และ�หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน� ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานรากในภาคใต้”

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==