ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2564

หน้า l 68 ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2564 ตาราง�11�ตัวแปรที่ใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะครัวเรือนฐานรากของประเทศไทย�(ต่อ) ตัวแปร ประเภทข้อมูลที่ ใช้จัดทำ าตัวแปร การวัด/คำ าจำ ากัดความ ด้านลักษณะของคนในครัวเรือน (ต่อ) - อัตราพึ่งพิง เชิงปริมาณ อัตราส่วนของประชากรวัยเด็ก (อายุ 0-14 ปี) รวม วัยผู้สูงอายุ (อายุ 60 ขึ้นไป) ต่อ ประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15-59 ปี) - สัดส่วนคนทำ างานหารายได้ เชิงปริมาณ จำ านวนผู้ที่ทำ างานหารายได้และผู้ที่ช่วยธุรกิจใน ครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้าง รวมลูกจ้างในธุรกิจของ ครัวเรือน และคนรับใช้ ต่อ จำ านวนสมาชิกของครัวเรือน รวมลูกจ้างในธุรกิจของครัวเรือน และคนรับใช้ สถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน - สัดส่วนของครัวเรือนที่เป็นเจ้าของ ทรัพย์สินขนาดใหญ่ เชิงกลุ่ม ครัวเรือนที่มีหรือเป็นเจ้าของรถยนต์, รถบรรทุกเล็ก/ รถปิกอัพ/รถตู้, รถอีแต๋น/รถอื่น ๆ ประเภทเดียวกัน หรือ เรือยนต์ - สัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่มีการออม เชิงกลุ่ม ครั ว เรือนที่ ไ ม่มีบัญชี เ งินฝากธนาคา ร สลาก ออมสินหรือ ธ.ก.ส. เบี้ยประกันชีวิต พันธบัตร/หุ้นกู้ กองทุนรวม ทอง อัญมณี และลูกหนี้ - สัดส่วนของครัวเรือนที่มีหนี้นอก ระบบ เชิงกลุ่ม ค รั ว เ รื อนที่มีหนี้สินที่กู้ยืมจ า กบุคคลอื่นนอก ครัวเรือน เช่น ญาติ เพื่อนบ้าน นายทุนเงินกู้ พ่อค้า คนกลาง เป็นต้น โดยมีอัตราดอกเบี้ยเป็นไปตามที่ตกลง กัน ซึ่งอาจจะเกินหรือไม่เกินอัตราที่กฎหมายกำ าหนดไว้ ทั้งนี้รวมถึงแชร์ที่เปียแล้วด้วย - สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจาก คนนอกครัวเรือน (ญาติ) เชิงกลุ่ม ครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนที่ย้ายไปจากครัวเรือน หรือญาติ - รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน เชิงปริมาณ เงินหรือสิ่งของที่สมาชิกทุกคนในครัวเรือนได้รับมาจาก การทำ างาน และรายได้จากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่จาก การทำ างาน เช่น ค่าจ้าง/เงินเดือน (รวมผลประโยชน์ ตอบแทนอื่น ๆ ) รายได้จาก การประกอบการเกษตร รายได้จากการประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรมหรือ และ เงินวิชาชีพช่วยเหลือ เป็นต้น - ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของ ครัวเรือน เชิงปริมาณ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสิ่งของหรือบริการต่าง ๆ ที่จำ าเป็นต่อ การครองชีพที่ครัวเรือนต้องซื้อ/จ่ายด้วยเงิน หรือได้มา โดยไม่ได้ซื้อ/จ่าย ซึ่งประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายเพื่อการ อุปโภคบริ โภค รวมกับค่า ใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับ การอุปโภคบริโภค

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==