ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2564

หน้า l 83 ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2564 ภาพ�35��สรุปคุณลักษณะครัวเรือนฐานรากที่สำ�คัญ�5�ด้าน�ของกรุงเทพมหานคร�และ�3�จังหวัด� ����������(ปทุมธานี�นนทบุรี�และสมุทรปราการ)�พ.ศ.�2564 กรุงเทพมหานคร�และ�3�จังหวัด กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ 3�ลำ�ดับแรก�ที่ต่างจาก�QU�5�มากที่สุด (1)�สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ�>�QU�5� 7.45�เท่า (2)�สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม�>�QU�5�� 4.74�เท่า (3)�สัดส่วนครัวเรือนที่ได้รับเงินจากคนนอกครัวเรือน�� ����(ญาติ)�>�QU�5��2.31�เท่า ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจของครัวเ รือน สามารถบ่งบอกถึงความเป็นครัว เ รือน ฐานรากได้ในทุก� ๆ� ตัวแปร� ยกเ ว้นแต่� มู ล ค่ า ท รั พ ย์ สิ น เ ฉ ลี่ ย ต่ อ ค รั ว เ รื อ น� สามารถบ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก ได้ที่ระดับความเชื่อมั่น�95% ด้านการศึกษาและการทำ�งาน ด้านลักษณะครัวเรือนอื่น�ๆ สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนจบ การศึกษาระดับประถมหรือต่ำ ากว่า� ต่างจาก� QU5�ถึง�8�เท่า�(8.10�เท่า) ค่า ใช้จ่ายในหมวดเวชภัณฑ์และค่ารักษา พยาบาล� หมวดการบัน เ ทิ งการอ่ านและ กิจกรรมทางศาสนา� หมวดยาสูบ/หมาก/ ยานัตถุ์และอื่นๆ� และหมวดการจัดงานพิเศษ� ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก กลุ่มครัวเรือนฐานรากมีค่าใช้จ่ายเกือบทุก หมวดน้อยกว่ากลุ่มควินไทล์ที่� 5� ยกเว้น� หมวดยาสูบ/หมาก/ยานัตถุ์และอื่น� ๆ� ที่� กลุ่มครัว เ รือนฐานรากมีค่า ใช้จ่ายเฉลี่ย� ต่อเดือนมากกว่ากลุ่มควินไทล์ที่�5�อยู่�1.54�เท่า สัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนทำ�งาน ในภาคเกษตร� ต่างจาก� QU5� เกือบ� 5� เท่า� (4.67�เท่า) สัดส่วนของครัวเรือนที่ดื่มน้ำ าไม่สะอาด ไม่ได้บ่งบอกความเป็นครัวเรือนฐานราก สัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต� ต่างจาก�QU�5��ถึง�5�เท่า�(5.71�เท่า) มีความเหลื่อมล้ำ�ในตัวแปรอัตราพึ่งพิง สูงกว่ากลุ่มครัวเรือนฐานรากทั่วประเทศ 3�ลำ�ดับแรก�ที่ต่างจาก�QU�5�มากที่สุด (1)� จำ�นวนเด็กในครัวเรือนเฉลี่ย�>�QU5�5.29�เท่า (2)�ความหนาแน่นของจำ�นวนสมาชิกต่อห้องนอน�>� QU5 1.78�เท่า (3)�จำ�นวนผู้สูงอายุในครัวเรือนเฉลี่ย�>�QU5�เกือบ�� 2�เท่า�(1.63�เท่า) ด้านลักษณะของคนในครัวเรือน ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน ด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน (ตามหมวด)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==