ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2566

113 ครัวเรือนฐานราก พ . ศ . 2566 ด้านลักษณะของคนในครัวเรือน พบว่า 1. ภาคกลางมีความเหลื่อมล้ำ าในมิติจำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นเด็ก สูงที่สุด ที่ 6.41 เท่า ขณะที่ภาคเหนือมีความเหลื่อมล้ำ าต่ำ าที่สุด ประมาณ 4.06 เท่า 2. ภาคใต้มีความเหลื่อมล้ำ าในมิติความหนาแน่นของจำ านวนสมาชิกต่อห้องนอนสูงที่สุด ที่ 2.08 เท่า ขณะที่ภาคอื่น ๆ มีความเหลื่อมล้ำ า ประมาณ 1.8 เท่า 3. ภาคกลางมีความเหลื่อมล้ำ าในมิติจำ านวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้สูงอายุสูงที่สุด ที่ 2.19 เท่า ขณะที่ภาคใต้มีความเหลื่อมล้ำ าต่ำ าที่สุด ที่ 1.48 เท่า ด้านสถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน พบว่า 1. ภาคใต้มีความเหลื่อมล้ำ าในมิติสัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีการออม สูงที่สุด ที่ 8.82 เท่า ขณะที่ภาคอื่น ๆ มีความเหลื่อมล้ำ า ประมาณ 3-5 เท่า 2. ภาคใต้ มีความเหลื่อมล้ำ าในมิติสัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้นอกระบบ สูงที่สุด ที่ 3.90 เท่า ขณะที่ภาคอื่น ๆ มีความเหลื่อมล้ำ า ประมาณ 2.9 เท่า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน (ตามหมวด) พบว่า 1. กทม. และ 3 จังหวัด และภาคกลางมีความเหลื่อมล้ำ าในมิติค่าใช้จ่ายหมวดเครื่องดื่ม มีแอลกอฮอล์สูงที่สุด ที่ 0.40 เท่า ขณะที่ภาคใต้ มีความเหลื่อมล้ำ าในมิตินี้ต่ำ าที่สุด ที่ 0.13 เท่า 2. ภาคใต้มีความเหลื่อมล้ำ าในมิติค่าใช้จ่ายหมวดยาสูบ หมาก ยานัตถุ์ และอื่นๆ สูงที่สุด ที่ 1.07 เท่า 3. ภาคตะวันออกเฉียง เหนือมีความเหลื่ อมล้ำ าในมิติค่าใช้จ่ายหมวดเวชภัณฑ์ และค่ารักษาพยาบาลสูงที่สุด ที่ 0.38 การศึกษาและการทำ างาน และลักษณะครัวเรือนอื่น ๆ พบว่า 1. กทม. และ 3 จังหวัด มีความเหลื่อมล้ำ าในมิติสัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต สูงที่สุด เนื่องจากสัดส่วนของครัวเรือนที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 มีค่าต่ำ ามาก ซึ่งบ่งบอกถึงการใช้อินเทอร์เน็ตที่มากขึ้น 2. ภาคเหนือมีความเหลื่อมล้ำ าในมิติสัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนจบการ ศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำ ากว่า ต่ำ าที่สุด ที่ 2.80 เท่า หากพิจารณาความเหลื่อมล้ำ าของครัวเรือน จากความแตกต่างระหว่างกลุ่มครัวเรือนฐานรากกับ กลุ่มควินไทล์ที่ 5 ตามคุณลักษณะครัวเรือนที่สำ าคัญแต่ละด้านแล้ว จะสามารถสรุปประเด็นสำ าคัญที่พบใน แต่ละคุณลักษณะครัวเรือน ได้ดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==