ครัวเรือนฐานราก พ.ศ. 2566
2 ครัวเรือนฐานราก พ . ศ . 2566 และแม้ว่าสถานการณ์ความความยากจนจะบรรเทาลง แต่เมื่อพิจารณาจาก ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคของรายได้ของประเทศไทยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2555-2565) พบว่า อยู่ระหว่าง 0.34 ถึง 0.4 ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว พบว่าประเทศเหล่านั้นมีค่าดัชนีอยู่เพียงระหว่าง 0.25 ถึง 0.30 เท่านั้น 3 เมื่อพิจารณาส่วนแบ่งรายได้ของกลุ่มครัวเรือนในประเทศ (แผนภูมิ 2) พบว่า ตลอด 15 ปี (พ.ศ. 2552-2566) ครัวเรือนฐานรากหรือครัวเรือนที่มีรายได้น้อยที่สุดร้อยละ 20 มีส่วนแบ่งรายได้ที่แตกต่างจากครัวเรือนที่มีรายได้มากที่สุดร้อยละ 20 อย่างมาก ซึ่งสะท้อนว่า ปัญหาความไม่เท่าเทียมด้านรายได้ยังคงมีอยู่ และจัดอยู่ในระดับที่สูง กล่าวคือ ครัวเรือนที่มี รายได้น้อยที่สุดร้อยละ 20 ถือครองรายได้เพียงร้อยละ 6.1 ในปี 2552 และเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เป็นร้อยละ 8.8 ในปี 2566 ในขณะที่ครัวเรือนที่มีรายได้มากที่สุดร้อยละ 20 กลับมีการถือครอง รายได้สูงกว่าครัวเรือนกลุ่มอื่น ๆ โดยแม้จะมีการถือครองรายได้ที่ลดลงจากร้อยละ 48.7 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 39.9 ในปี 2566 ก็ตาม แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า มีการถือครองรายได้ เกือบครึ่งหนึ่งของรายได้ทั้งประเทศ แ¼¹Àูมิ 1 สัดส่ǹ¤¹จ¹ จำ¹Ç¹¤¹จ¹ และเส้¹¤ÇÒมยÒ¡จ¹ พ.ศ. 2555 - 2565 3/ กอบศักดิ์ ภูตระกูล. 2556. บทความเรื่อง คุณภาพของการเจริญเติบโตจากมิติของการกระจายรายได้ : ปัญหาและทางออก.ธนาคารแห่งประเทศไทย. จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearch/SymposiumDocument/Paper4_2556.pdf ที่มา : สำ านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12.6 10.9 10.5 7.2 8.6 7.9 9.9 6.2 6.8 6.3 5.4 8.4 7.3 7.1 4.8 5.8 5.3 5.7 4.3 4.8 4.4 3.8 2 ,174 2 , 285 2 ,415 2 , 492 2 , 572 2 ,647 2 ,644 2 ,667 2 ,686 2,803 2,997 - 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 0 5 10 15 20 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เส้¹¤ÇÒมยÒ¡จ¹ สัดส่ǹและจำ ҹǹ¤¹จ¹ สัดส่ǹ¤¹จ¹ ( ร้อยละ ) จำ ҹǹ¤¹จ¹ ( ล้Ò¹¤¹ ) เส้¹¤ÇÒมยÒ¡จ¹ (บÒท/ ¤¹ / เดือ¹ ) 0
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==