ความเสมอภาคระหว่างเพศของผู้ปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการ: จากโนเบลทางเศรษฐศาสตร์ถึงข้อมูลจุลภาคอุตสาหกรรมไทย
P a g e | 10 ความเสมอภาคในมิติของค่าตอบแทนแรงงานที่ได้รับของผู้ปฏิบัติงาน จากการพิจารณาผลการ สารวจภาวะการทางานของประชากร ทั่วราชอาณาจักร ไตรมาสที่ 4: ตุลาคม - ธันวาคม 2564 พบว่า ในภาพรวมผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมการผลิตเพศชาย ได้รับค่าตอบแทน แรงงานเฉลี่ย 74.5 บาท/ชั่วโมง ซึ่งมากกว่าผู้ปฏิบัติงานเพศหญิงที่ได้รับค่าตอบแทนแรงงานโดยเฉลี่ยเพียง 58.3 บาท/ชั่วโมง เมื่อพิจารณาตามกลุ่มอายุ พบว่า ในช่วงอายุ 15 – 34 ปี ผู้ปฏิบัติงานแต่ละเพศยังได้รับ ค่าตอบแทนแรงงานที่ไม่แตกต่างกัน แต่ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ผู้ปฏิบัติงานเพศชาย จะได้รับค่าตอบแทน แรงงานเฉลี่ยสูงกว่าเพศหญิง โดยมีช่องว่างของค่าตอบแทนแรงงานค่อย ๆ สูงขึ้น จนกระทั่งอายุ 55 ปีขึ้นไป ค่าตอบแทนแรงงานเฉลี่ยของแต่ละเพศจึงค่อย ๆ ลดลง เมื่อพิจารณาตามสถานภาพการสมรสของผู้ปฏิบัติงาน พบว่า ผู้ปฏิบัติเพศหญิงที่มีสถานภาพโสด จะได้รับค่าตอบแทนแรงงานโดยเฉลี่ยสูงกว่าเพศชาย แต่ผู้ปฏิบัติงานที่มีสถานภาพการสมรสอื่น ผู้ปฏิบัติงาน เพศชายจะได้รับค่าตอบแทนแรงงานโดยเฉลี่ยสูงกว่าเพศหญิง โดยผู้ปฏิบัติงานเพศหญิงที่มีสถานภาพ สมรสแบบจดทะเบียน และม่ายจะได้รับค่าตอบแทนแรงงานที่ต ่ ากว่าผู้ปฏิบัติงานเพศชายในสถานภาพ การสมรสเดียวกันค่อนข้างสูง (แผนภูมิที่ 4 ) แผนภูมิที่ 4: ค่าตอบแทนแรงงานที่ได้รับของผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมการผลิตแต่ละเพศ จาแนกตามกลุ่มอายุ สถานภาพการสมรส และระดับการศึกษา ♂♀ 74.5 58.3 ค่าตอบแทนแรงงาน / ชั่วโมง กลุ่มอายุ 44.6 44.0 15 - 19 52.2 52.3 20 - 24 59.7 61.2 25 - 29 68.0 69.5 30 - 34 77.1 68.3 35 - 39 81.5 71.1 40 - 44 94.1 71.7 45 - 49 100.6 68.3 50 - 54 95.9 65.3 55 - 59 87.3 49.8 60 - 64 62.8 36.2 65 - 69 38.7 24.1 70+ สถานภาพการสมรส 66.2 73.1 โสด 96.3 68.8 สมรส - จดทะเบียน 68.3 59.6 สมรส - ไม่จดทะเบียน 95.5 50.6 ม่าย 65.2 59.5 หย่า 63.1 54.7 แยกกันอยู่ ระดับการศึกษา 45.5 41.9 ไม่มีการศึกษา 57.9 45.8 ก่อนประถมศึกษา 55.8 46.6 ประถมศึกษา 57.3 51.9 มัธยมศึกษาตอนต้น 69.4 57.8 มัธยมศึกษาตอนปลาย 86.1 69.9 อนุปริญญา 160.2 120.5 ปริญญาตรีขึ้นไป 45.8 41.0 อื่น ๆ 0.0 50.0 100.0 150.0 200.0 250.0 300.0
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==