ความเสมอภาคระหว่างเพศของผู้ปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการ: จากโนเบลทางเศรษฐศาสตร์ถึงข้อมูลจุลภาคอุตสาหกรรมไทย

P a g e | 3 คนทางาน หมายถึง คนที่ทางานในสถานประกอบการทั้งที่ได้รับเงินเดือนและไม่ได้รับเงินเดือน ที่สถานประกอบการมีอยู่ตามปกติ รวมทั้งผู้ที่ปกติทางานอยู่ในสถานประกอบการแห่งนี้ แต่ไม่ได้มาทางาน เนื่องจากเจ็บป่วย ลาหยุดพักผ่อน โดยได้รับค่าจ้าง/เงินเดือน ประกอบด้วย 1 ) คนทางานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง เงินเดือน หมายถึง เจ้าของกิจการหรือหุ้นส่วนที่ทางาน ให้สถานประกอบการ โดยไม่ได้รับค่าจ้าง เงินเดือน และผู้ที่อาศัยอยู่ในครัวเรือนของเจ้าของกิจการ หรือหุ้นส่วน หรือบุคคลอื่น ที่ทางานให้กับสถานประกอบการอย่างน้อยสัปดาห์ละ 20 ชั่วโมง โดยไม่ได้รับ ค่าจ้าง เงินเดือน เป็นประจา 2) ลูกจ้างในกรรมวิธีการผลิต หมายถึง ลูกจ้างทั้งหมดที่ทางานเกี่ยวข้องโดยตรงกับการผลิต ในขั้นตอนต่าง ๆ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตโดยได้รับค่าจ้างเงินเดือน โดยผู้ที่ทางานด้านการผลิต ซึ่งเคยได้รับการฝึกฝนอบรมมาก่อนอย่างน้อย 3 เดือน หรือผู้มีประสบการณ์ในการทางาน 5 ปีขึ้นไป ในงาน เฉพาะที่ท าอยู่ เช่น ช านาญงานดูแลเครื่องจักร ผู้ผลิต หรือติดตั้งอุปกรณ์ ผู้เดินเครื่องจักร ผู้ประกอบชิ้นส่วน ต่าง ๆ เป็นต้น ถือเป็นผู้ปฏิบัติงานมีฝีมือ ส่วนผู้ที่ทางานด้านการผลิตที่ได้รับการฝึกงานก่อนปฏิบัติงาน น้อยกว่า 2 สัปดาห์ เช่น พนักงานท าความสะอาดเครื่องจักร ถือเป็นผู้ปฏิบัติงานไม่มีฝีมือ 3) ลูกจ้างอื่น ๆ หมายถึง ลูกจ้างทั้งหมดนอกเหนือจากลูกจ้างในกรรมวิธีการผลิต รวมถึง ผู้ปฏิบัติงานนักบริหาร นักวิชาการ เสมียนพนักงาน เช่น ผู้จัดการ ผู้อ านวยการ และกรรมการบริหารที่ได้รับ ค่าจ้าง เงินเดือน ผู้ปฏิบัติงานในห้องทดลองและนักวิจัย พนักงานพิมพ์ดีด พนักงานบัญชี และพนักงานขาย เป็นต้น ไม่รวมคนท างาน ดังต่อไปนี้ - ผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้นที่ได้รับเบี้ยประชุมเป็นครั้งคราว - คนท างานของสถานประกอบการอื่นที่มาปฏิบัติงานประจาที่สถานประกอบการ - คนทางานที่รับงานไปทาที่บ้านแล้วนามาส่งโดยไม่ได้ลงทุนซื้อวัสดุ อุปกรณ์ (หรือถ้ามี การใช้เครื่องมือส่วนตัวเล็กน้อยได้ เช่น มีด เข็ม ด้าย) - คนงานที่ลางานเป็นระยะเวลานาน เช่น ลาไปราชการทหาร - คนที่สถานประกอบการจ้างมาทางานเฉพาะอย่างเป็นครั้งคราว เช่น กรรมกรที่จ้าง มาขนของ พนักงานเดินตลาดหรือตัวแทนขายที่ไม่มีเงินเดือนประจา - ลูกจ้างเช่าหรือแรงงานเช่า หมายถึง ลูกจ้างเฉพาะหรืออยู่ในกระบวนการผลิตที่ส่งตัว จาก สานักจัดหางานหรือองค์กรที่คล้ายคลึงกัน ให้แก่สถานประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิต สานักจัดหางานดังกล่าวไม่มีหน้าที่บังคับบัญชาลูกจ้างซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุม (การสั่งการ หรือการบังคับบัญชา) ของลูกค้าของ สานักจัดหางาน ลูกจ้างเช่านี้จะมีชื่อในบัญชีเงินเดือน ของ สานักจัดหางาน ไม่ใช่ของสถานประกอบการ ข้อมูลเกี่ยวกับแรงงานเช่า จะเป็นประโยชน์ สาหรับ การวิเคราะห์ผลิตภาพแรงงานของหน่วยอุตสาหกรรมที่ทาการผลิต ซึ่งมีการป้อนแรงงานเช่า เป็นวัตถุดิบในการผลิตที่แท้จริง แรงงานต่อไปนี้ไม่จัดอยู่ในหมวดแรงงานเช่า - เจ้าหน้าที่ชั่วคราวที่ได้รับจากบริการจัดหาเจ้าหน้าที่ - ผู้รับเหมา ผู้รับเหมาช่วงหรือผู้รับเหมาอิสระ - บริการที่อยู่ใต้การบริหารจัดการ เช่น แม่บ้าน พนักงานรักษาความปลอดภัย บริการ ปรับปรุงภูมิทัศน์ - บริการวิชาชีพหรือบริการด้านเทคนิคที่ซื้อหามาจากกิจการอื่น เช่น บริการที่ปรึกษา ด้านซอฟต์แวร์ การจัดท าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บริการด้านวิศวกรรมหรือบริการด้านบัญชี

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==