รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด
รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด VIII แผนภูมิ 3 ส่วนแบ่งรายได้ ตามกลุ่มควินไทล์ จำ าแนกตามภาค พ.ศ. 2566 (เสมอภาคโดยสมบูรณ์) ถึง 1 (ไม่เสมอภาคโดยสมบูรณ์) พบว่าประเทศไทยมีค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค ของการกระจายได้ 0.382 ซึ่งแสดงถึงความไม่เสมอ ภ า ค ข อ ง ก า ร ก ร ะ จ า ย ร า ย ไ ด้ ร ะ ดั บป า น ก ล า ง เมื่ อพิจารณาในระดับภาค พบว่า ภาคใต้มีความ เหลื่อมล้ำ ามากที่สุด (0.395) รองลงมาได้แก่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ (0.377) ภาคเหนือ (0.372) ภาคกลาง (0.360) และกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัดปริมณฑล (0.307) ตามลำ าดับ เมื่อพิจารณาความเหลื่อมล้ำ าของการกระจาย รายได้ระดับจังหวัด (แผนที่ 1) พบว่า จังหวัดที่มีความ เหลื่อมล้ำ าในการกระจายรายได้มากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ จันทบุรี (0.484) แม่ฮ่องสอน (0.444) ยโสธร (0.440) นครศรีธรรมราช (0.436) และยะลา (0.424) ส่วนจังหวัดที่มีความเหลื่อมล้ำ า ในการกระจายรายได้ น้อยที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ สมุทรปราการ (0.239) สมุทรสาคร (0.267) นนทบุรี (0.273) กำ าแพงเพชร (0.278) และชลบุรี (0.282) การกระจายรายได้ เมื่อแบ่งครัวเรือนในประเทศไทยออกเป็น 5 กลุ่ม ตามลำ าดับรายได้ครัวเรือนเฉลี่ยต่อคนจากน้อยไปมาก และพิจารณาส่วนแบ่งรายได้ของแต่ละกลุ่ม (แผนภูมิ 3) โดยกลุ่มที่ 1 (กลุ่มควินไทล์ที่ 1) เป็นกลุ่มครัวเรือนที่มี รายได้น้อยที่สุด และกลุ่มที่ 5 (กลุ่มควินไทล์ที่ 5) เป็น กลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้มากที่สุด พบว่า ในปี 2566 เกือบครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 40.0) ของรายได้ทั้งหมดใน ประเทศไทย เป็นรายได้ของครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ ที่ 5 ซึ่งลดลงจากร้อยละ 40.2 ในปี 2564 และครัวเรือน ในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 มีส่วนแบ่งรายได้ร้อยละ 8.7 ในปี 2566 ลดลงจากปี 2564 ซึ่งมีส่วนแบ่งรายได้ ร้อยละ 9.7 เมื่อเปรียบเทียบระหว่างภาค พบว่า ภาคที่ครัวเรือน ในควินไทล์ที่ 5 มีส่วนแบ่งรายได้มากที่สุดคือ ภาคเหนือ และภาคใต้ (ร้อยละ41.8) อีกทั้งภาคใต้ยังคงมีส่วนแบ่ง รายได้ของครัวเรือนในควินไทล์ที่ 1 น้อยที่สุดเพียง ร้อยละ 8.9 เท่านั้น เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค ของการกระจายรายได้ (Gini Coefພcient) ซึ่ งใช้วัด ความเหลื่อมล้ำ าของการกระจายรายได้ โดยมีค่าระหว่าง 0 (ร้อยละ) (ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค) 1/ 1/ ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini Coefພcient) ของรายได้ของครัวเรือน หมายถึง ค่าที่แสดงความแตกต่างของรายได้ของครัวเรือนซึ่งมีค่าระหว่าง 0 - 1 ถ้าเป็น 0 แสดงว่าไม่มีความแตกต่างของรายได้ และถ้าเป็น 1 แสดงว่ามีความแตกต่างของรายได้ 2/ 3 จังหวัดปริมณฑล ได้แก่ นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ ทั่วราชอาณาจักร กลาง เหนือ ใต้ ตะวันออกเฉียงเหนือ กทม. และ 3 จังหวัดปริมณฑล 2/ 8.7 11.8 9.3 9.3 10.2 8.9 12.9 14.6 14.7 13.0 13.6 12.8 17.0 16.4 17.4 15.8 16.1 15.6 21.4 20.2 21.4 20.1 20.6 20.9 40.0 37.0 37.2 41.8 39.6 41.8 0.382 0.307 0.360 0.372 0.377 0.395 0.000 0.050 0.100 0.150 0.200 0.250 0.300 0.350 0.400 0.450 0% 20% 40% 60% 80% 100% ควินไทล์ที� 1 ควินไทล์ที� 2 ควินไทล์ที� 3 ควินไทล์ที� 4 ควินไทล์ที� 5 ค่าสัมประสิทธิ� ความไม่เสมอภาค
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==