รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด
2 - 78 รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด จังหวัด รายได้ประจำ าของ ครัวเรือน (บาท/เดือน) ร้อยละของรายได้ประจำ า อัตราส่วนของรายได้ ประจำ าในควินไทล์ที่ 5 ต่อควินไทล์ที่ 1 สัมประสิทธิ์ของ ความไม่เสมอภาค (Gini Coefພcient) ควินไทล์ที่ 1 ควินไทล์ที่ 5 สุรินทร์ 21,753 11.2 38.7 3.5 0.391 หนองคาย 25,802 10.3 36.4 3.5 0.352 หนองบัวลำ าภู 23,500 9.0 45.3 5.0 0.394 อุดรธานี 20,598 10.9 37.0 3.4 0.317 อุบลราชธานี 19,869 9.1 40.1 4.4 0.395 อำ านาจเจริญ 27,930 9.6 44.4 4.6 0.375 ภาคใต้ 28,183 10.0 40.7 4.1 0.395 กระบี่ 27,586 10.3 37.6 3.7 0.343 ชุมพร 32,036 8.4 49.3 5.9 0.419 ตรัง 28,064 10.2 43.2 4.2 0.386 นครศรีธรรมราช 32,901 7.6 49.5 6.5 0.436 นราธิวาส 18,310 9.5 45.6 4.8 0.414 ปัตตานี 19,715 11.7 35.8 3.1 0.357 พังงา 22,050 11.7 35.2 3.0 0.343 พัทลุง 25,979 7.9 42.6 5.4 0.393 ภูเก็ต 41,636 13.5 31.2 2.3 0.285 ยะลา 26,716 10.1 46.1 4.6 0.424 ระนอง 26,538 9.3 43.5 4.7 0.406 สงขลา 23,899 10.9 33.4 3.0 0.340 สตูล 23,396 9.6 38.1 4.0 0.391 สุราษฎร์ธานี 32,357 10.2 38.1 3.7 0.345 ตาราง 20 อัตราส่วนของรายได้ประจำ าของครัวเรือนในควินไทล์ที่ 5 ต่อควินไทล์ที่ 1 และสัมประสิทธิ์ของ ความไม่เสมอภาค รายจังหวัด (ต่อ) หากแบ่งรายได้ประจำ าของครัวเรือนเป็นช่วง (ตาราง 21) พบว่า จากจำ านวนครัวเรือนทั้งสิ้น 23.9 ล้านครัวเรือน ครัวเรือนจำ านวนร้อยละ 14.4 หรือประมาณ 3.4 ล้านครัวเรือน มีรายได้ประจำ าต่อคนต่อเดือน 20,001 บาทขึ้นไป โดยครัวเรือนส่วนใหญ่ร้อยละ 34.6 หรือประมาณ 8.3 ล้านครัวเรือน มีรายได้ประจำ าต่อคนต่อเดือน อยู่ระหว่าง 5,001–10,000 บาท และยังมีอีกร้อยละ 5.0 หรือประมาณ 1.2 ล้านครัวเรือน ที่มีรายได้ต่อคนต่อเดือน ต่ำ ากว่า 3,000 บาทหรือมีรายได้ต่ำ ากว่าวันละ 100 บาท เมื่อพิจารณาเป็นรายภาคพบว่าครัวเรือนส่วนใหญ่เกือบทุกภาคมีรายได้ประจำ าต่อคนต่อเดือน ระหว่าง 5,001-10,000 บาท ยกเว้น ครัวเรือนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัดปริมณฑล ที่ส่วนใหญ่มีรายได้ ประจำ าต่อคนต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,001 - 15,000 บาท และหากพิจารณารายจังหวัด พบว่า ครัวเรือนที่มีสัดส่วนของ รายได้ประจำ าต่อคนต่อเดือน 20,001 บาทขึ้นไปสูงสุด ส่วนใหญ่จะเป็นครัวเรือนที่อยู่ในจังหวัดที่เป็นแหล่งเศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรมและศูนย์กลางทางการธุรกิจการค้าและบริการเช่น ระยอง (ร้อยละ36.8) กรุงเทพมหานคร (ร้อยละ29.2) ปทุมธานี (ร้อยละ 29.0) ชลบุรี (ร้อยละ 28.9) นนทบุรี (ร้อยละ 27.8) ภูเก็ต (ร้อยละ 25.8) เป็นต้น ในขณะที่สัดส่วนของครัวเรือนรายได้ประจำ าต่อคนต่ำ ากว่า 3,000 บาท มีค่าสูงในจังหวัดทาง ภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต ้เช่น นราธิวาส (ร้อยละ27.6) ร้อยเอ็ด (ร้อยละ21.6) ปัตตาน ี(ร้อยละ20.3) แม่ฮ่องสอน (ร้อยละ 19.4) หนองบัวลำ าภู (ร้อยละ 14.9) อุบลราชธานี (ร้อยละ 13.5) ศรีสะเกษ (ร้อยละ 12.8) นครพนม (ร้อยละ 12.6) อุตรดิตถ์ (ร้อยละ 11.8) เป็นต้น
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==