รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด
2 - 87 รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด จังหวัด กลุ่มควินไทล์ที่ 1 กลุ่มควินไทล์ที่ 2 กลุ่มควินไทล์ที่ 3 กลุ่มควินไทล์ที่ 4 กลุ่มควินไทล์ที่ 5 ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) พังงา 24.1 23,524 32.7 71,671 26.2 42,274 29.7 266,388 31.1 205,632 พัทลุง 46.2 100,578 49.0 131,665 49.4 210,100 50.3 254,846 62.0 576,070 ภูเก็ต 51.9 149,720 47.6 424,535 56.9 491,307 66.0 475,352 46.7 587,485 ยะลา 37.7 29,402 43.7 35,795 30.6 44,533 36.3 138,326 43.0 421,152 ระนอง 22.5 44,403 32.7 60,456 33.6 92,735 36.0 123,268 55.6 414,568 สงขลา 30.4 54,707 32.1 42,690 30.8 316,861 38.2 221,114 42.3 501,336 สตูล 46.8 61,176 47.2 80,380 43.8 77,389 42.1 166,605 54.9 452,314 สุราษฎร์ธานี 44.6 101,959 48.6 114,188 51.8 161,045 66.9 256,376 67.6 493,307 ตาราง 23 ครัวเรือนที่มีหนี้สินและมูลค่าหนี้สินเฉลี่ย จำ าแนกตามกลุ่มควินไทล์รายได้ประจำ าของครัวเรือน รายจังหวัด (ต่อ) 2.4.3 ลักษณะสำ าคัญของครัวเรือนตามกลุ่มควินไทล์ของรายได้ประจำ า การแบ่งกลุ่มครัวเรือนออกเป็นกลุ่มควินไทล์ตามรายได้เฉลี่ยต่อคนของครัวเรือน นอกจาก จะใช้ศึกษาความเหลื่อมล้ำ าทางด้านรายได้แล้ว ยังสามารถใช้ศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนที่แตกต่างกัน ระหว่างกลุ่มควินไทล์ได้อีกด้วยทั้งนี้เพราะว่าความเหลื่อมล้ำ าทางด้านรายได้ส่งผลโดยตรงให้เกิดความเหลื่อมล้ำ าในด้านอื่น ๆ เช่น ในเรื่องความเป็นอยู่ การเข้าถึงเทคโนโลยี เป็นต้น ลักษณะที่สำ าคัญบางประการ ระหว่างกลุ่มควินไทล์ที่ 1 และกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ที่ได้ศึกษา ความแตกต่างไว้ (ตาราง 24 - 25) มีดังต่อไปนี้ - ขนาดครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีรายได้น้อยที่สุด มีขนาดครัวเรือนใหญ่กว่ากลุ่มควินไทล์ที่ 5 ซึ่งมีรายได้มากที่สุด - หัวหน้าครัวเรือนหญิง พบว่า ในภาพรวมของประเทศ และภาคส่วนใหญ่ ยกเว้นภาคตะวันออก เฉียงเหนือและภาคใต้ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นหญิงมากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ท ี5 - ผู้มีงานทำ า พบว่า ภาคส่วนใหญ่ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 เป็นครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนเป็นผู้มีงานทำ า (รวมผู้ที่ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับค่าจ้างแต่ไม่รวมลูกจ้าง และคนรับใช้) มากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 - เป็นเจ้าของบ้านที่อยู่ พบว่า แม้ว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 เป็นกลุ่มที่มีรายได้น้อยที่สุด แต่ครัวเรือนในกลุ่มนี้ เป็นเจ้าของบ้านที่อยู่อาศัยมากกว่ากลุ่มควินไทล์ที่ 5 ยกเว้นบางจังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ ตราด สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สิงห์บุรี กระบี่ ชุมพร ตรัง ภูเก็ต และระนอง - ใช้น้ำ าประปา พบว่า ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 เข้าถึงการใช้น้ำ าประปาได้ ร้อยละ 95.3 ซึ่งมากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 ที่เข้าถึงการใช้น้ำ าประปาได้ ร้อยละ 83.6 - มีส้วมแบบนั่งห้อยเท้า พบว่า ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ร้อยละ 88.6 ใช้ส้วมแบบนั่งห้อยเท้า ในที่อยู่อาศัย มากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 ที่มีใช้เพียงร้อยละ 42.7 - ใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 มีครัวเรือนที่มีสมาชิกอย่างน้อย 1 คน มีการใช้ อินเทอร์เน็ต (โดยไม่คำ านึงว่าจะใช้ ณ สถานที่ใด) ร้อยละ 98.6 มากกว่ากลุ่มควินไทล์ที่ 1 ที่มีครัวเรือนที่มีการใช้ อินเทอร์เน็ตเพียงร้อยละ 81.9
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==