รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด
พ - 5 รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด เมื่อพิจารณาความเหลื่อมล้ำ าของรายได้ครัวเรือน การเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดกลุ่มครัวเรือนโดยใช้รายได้ ครัวเรือนแบบปรับเทียบเท่า (equivalised household income) แทนที่การจัดกลุ่มโดยใช้รายได้ครัวเรือนต่อคน (per capita household income) ทำ าให้การคำ านวณความเหลื่อมล้ำ าของรายได้ครัวเรือนเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น ครัวเรือนที่มีจำ านวนสมาชิกมาก โดยเฉพาะสมาชิกที่เป็นเด็ก จะถูกจัดให้มีฐานะดีขึ้นมากกว่าโดยเปรียบเทียบกับ ครัวเรือนที่มีรายได้ต่อหัวเท่ากัน แต่มีจำ านวนสมาชิกน้อยกว่า หรือมีจำ านวนสมาชิกเท่ากันแต่มีสมาชิกผู้ใหญ่มากกว่า เมื่อใช้ค่าสัมประสิทธิ์ของความไม่เสมอภาค (Gini Coefພcient) เป็นตัวชี้วัดพบว่าค่าสัมประสิทธิ์ของความไม่เสมอ ภาคที่คำ านวณใหม่ มีค่าลดลงในทุกระดับทั้งในระดับประเทศ ทุกภาค และทุกจังหวัด เมื่อเทียบกับการคำ านวณ แบบเดิม โดยค่าสัมประสิทธิ์ของความไม่เสมอภาคในระดับประเทศลดลงจาก 0.382 เป็น 0.359 ทั้งนี้ เป็นผลจาก การคำ านวณโดยใช้รายได้ครัวเรือนแบบปรับเทียบเท่า (equivalised household income) ซึ่งมีการปรับรายได้ ครัวเรือนตามความต้องการของครัวเรือนที่แตกต่างและการการประหยัดจากขนาด ทำ าให้ครัวเรือนในกลุ่มยากจน ซึ่งมักมีจำ านวนสมาชิกมากและมีสมาชิกที่เป็นเด็กมากถูกปรับให้มีฐานะดีขึ้นมากกว่าโดยเปรียบเทียบกับครัวเรือน ในกลุ่มร่ำ ารวย ส่งผลให้เกิดความแตกต่างที่ลดลงของรายได้ครัวเรือนในภาพรวมของประเทศ ทำ าให้การกระจายรายได้ ดีขึ้นโดยเปรียบเทียบกับการคำ านวณโดยใช้รายได้ครัวเรือนต่อคน (per capita household income) และทำ าให้ ดัชนีความเหลื่อมล้ำ าของรายได้ลดลงไปด้วย โดยจังหวัดที่มีค่าสัมประสิทธิ์ของความไม่เสมอภาคที่คำ านวณใหม่สูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จันทบุรี (0.453) นครศรีธรรมราช (0.425) และแม่ฮ่องสอน (0.421) ส่วนจังหวัดที่มีค่าสัมประสิทธิ์ ของความไม่เสมอภาคที่คำ านวณใหม่ต่ำ าสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ สมุทรปราการ (0.225) ภูเก็ต (0.253) และชลบุรี (0.256) ต�ร�ง พ 1 ร�ยได้ประจำ �ต่อเดือนต่อครัวเรือน และสัมประสิทธิ์คว�มไม่เสมอภ�ค จำ �แนกต�มภ�คและจังหวัด ปี 2566 ภ�คและจังหวัด ร�ยได้ประจำ �เฉลี่ย ต่อเดือนของ ครัวเรือน (บ�ท/เดือน) ร�ยได้ประจำ �เฉลี่ย ต่อเดือนต่อคนของ ครัวเรือน (บ�ท/เดือน) ร�ยได้ ประจำ �เฉลี่ย ต่อเดือนของปรับ เทียบเท่�ครัวเรือน (equivalised) (บ�ท/เดือน) มัธยฐ�นร�ยได้ ประจำ �ต่อเดือน ของครัวเรือน ปรับเทียบเท่� (equivalised) (บ�ท/เดือน) สัมประสิทธิ์ของ คว�มไม่เสมอภ�ค (Gini Coefພcient) ต�มร�ยได้ประจำ � เฉลี่ยต่อเดือน ต่อคนของ ครัวเรือน สัมประสิทธิ์ของ คว�มไม่เสมอภ�ค (Gini Coefພcient) ต�มร�ยได้ประจำ � เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ปรับเทียบเท่� ทั่วร�ชอ�ณ�จักร 28,706 10,773 16,745 12,669 0.382 0.359 กรุงเทพมห�นคร และ 3 จังหวัด 38,905 16,426 23,575 18,750 0.307 0.296 กรุงเทพมหานคร 39,921 17,357 24,542 18,717 0.324 0.314 นนทบุรี 36,716 16,405 23,156 19,586 0.273 0.265 ปทุมธานี 45,067 16,197 24,803 20,415 0.316 0.303 สมุทรปราการ 32,161 13,423 19,461 17,575 0.239 0.225 ภ�คกล�ง 29,939 11,629 17,738 14,071 0.360 0.334 กาญจนบุรี 24,076 8,907 13,975 10,500 0.373 0.343 จันทบุรี 43,623 15,142 25,208 14,328 0.484 0.453 ฉะเชิงเทรา 28,999 12,571 18,311 15,000 0.335 0.312 ชลบุรี 35,752 15,039 22,089 19,704 0.282 0.256 ชัยนาท 26,926 9,244 14,655 10,903 0.391 0.375
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==