รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด
2 - 4 รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด ตาราง 1 ครัวเรือน ณ เดือนกรกฎาคม 2566 และขนาดของครัวเรือนโดยเฉลี่ยรายจังหวัด (ต่อ) จังหวัด ครัวเรือน ขนาดของครัวเรือนโดยเฉลี่ย (คน/ครัวเรือน) จำ านวน (ครัวเรือน) ร้อยละ สกลนคร 285,912 1.2 2.9 สุรินทร์ 331,343 1.4 3.0 หนองคาย 143,901 0.6 3.0 หนองบัวลำ าภู 139,144 0.6 3.2 อุดรธานี 399,506 1.7 2.5 อุบลราชธานี 510,552 2.1 2.9 อำ านาจเจริญ 88,829 0.4 3.0 ภาคใต้ 3,088,700 12.9 2.9 กระบี่ 137,820 0.6 3.1 ชุมพร 180,006 0.8 2.6 ตรัง 204,274 0.9 3.1 นครศรีธรรมราช 484,894 2.0 3.1 นราธิวาส 197,312 0.8 3.3 ปัตตานี 161,977 0.7 3.7 พังงา 83,812 0.3 2.7 พัทลุง 157,777 0.7 2.9 ภูเก็ต 209,631 0.9 2.8 ยะลา 145,775 0.6 3.1 ระนอง 97,008 0.4 3.1 สงขลา 553,110 2.3 2.5 สตูล 84,138 0.4 3.3 สุราษฎร์ธานี 391,166 1.6 2.9 เมื่อจำ าแนกครัวเรือนตามสถานะทางเศรษฐสังคม ออกเป็น 4 กลุ่ม ซึ่งได้แก่ 1) ผู้ถือครองทำ าการเกษตร 2) ผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร 3) ลูกจ้าง และ 4) ผู้ไม่ได้ปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐกิจ (ตาราง 2) พบว่า ในแต่ละพื้นที่ จะมีกลุ่มครัวเรือนดังกล่าวมากน้อยแตกต่างกันไป ตามลักษณะทางเศรษฐกิจของพื้นที่นั้น ๆ เช่น พื้นที่กรุงเทพมหานคร และ 3 จังหวัดปริมณฑล รวมทั้งภาคกลาง ซึ่งเป็นแหล่งเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมและศูนย์กลางทางธุรกิจ การค้าและบริการ และภาคใต้ที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรมและแหล่งท่องเที่ยวมีครัวเรือนเกือบครึ่งหนึ่งเป็นครัวเรือน กลุ่มลูกจ้าง ในขณะที่ครัวเรือนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสัดส่วนครัวเรือนผู้ ไม่ได้ปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐกิจ น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับภาคอื่นและมีสัดส่วนครัวเรือนผู้ไม่ได้ปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐกิจสูงสุดส่วนภูมิภาคที่มีสัดส่วนครัวเรือน ผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตรสูงสุด คือ กรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัดปริมณฑล และภาคกลาง นอกจากนี้ ยังพบว่า ภาคเหนือเป็นภาคที่มีสัดส่วนครัวเรือนผู้ถือครองทำ าการเกษตรสูงสุด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==