รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด
รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด VI 28,706 24,646 36,530 37,305 23,630 18,705 23,695 18,888 28,223 30,702 20,870 16,664 82.6 76.7 77.3 82.3 88.4 89.1 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 100.0 0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 รายได้ประจําต่อครัวเรือน พ . ศ. 2566 ค่าใช้จ่ายทั � งสินต่อครัวเรือน พ . ศ. 2566 สัดส่วนค่าใช้จ่ายทั � งสิ � นต่อรายได้ประจํา พ . ศ. 2566 ในส่วนของค่าใช้จ่ายครัวเรือน ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นของ ครัวเรือนเป็นตัวชี้วัดที่แสดงภาพรวมการใช้จ่ายของครัวเรือน ทั้งที่เกิดขึ้นเป็นประจำ าและไม่ประจำ าโดยประกอบด้วยค่าใช้ จ่ายเกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค และค่าใช้จ่ายที่ ไม่ใช่ การอุปโภคบริโภค เมื่อนำ าค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นครัวเรือนไปเปรียบเทียบ กับรายได้ประจำ าของครัวเรือนจะสะท้อนให้เห็นเสถียรภาพ ทางการเงินในภาพรวมของครัวเรือน ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อครัวเรือนในปี 2566 แสดงถึง ค่าครองชีพที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยครัวเรือนมีค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นเฉลี่ยเดือนละ 23,695 เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 4.7 ต่อปี จากการสำ ารวจครั้งก่อนในปี 2564 ซึ่งครัวเรือน มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นเฉลี่ยเดือนละ 21,616 ซึ่งสูงกว่าอัตราการ เพิ่มของรายได้ประจำ า เมื่อเทียบกับทุกภาคในประเทศไทย กรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัดปริมณฑล มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ต่อครัวเรือนสูงที่สุด เฉลี่ยเดือนละ 32,096 บาท รองลงมาเป็น ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เฉลี่ยเดือนละ 24,635 23,263 18,961 และ 18,676 บาท ตามลำ าดับ เมื่อพิจารณาความเพียงพอของรายได้ในการ ใช้จ่าย หรือสัดส่วนของค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ประจำ าของ ครัวเรือนพบว่า ครัวเรือนทั่วประเทศมีสัดส่วนของค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นต่อรายได้ประจำ าร้อยละ 82.6 (เพิ่มขึ้นจากร้อยละ80.0 ในปี 2564) โดยครัวเรือนในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสัดส่วนสูงที่สุด (ร้อยละ 84.4) หรือมีความเสี่ยงรายได้ ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่ายมากที่สุด รองลงมา คือ ภาคใต้ (ร้อยละ82.6) กรุงเทพมหานครและ3จังหวัด (ร้อยละ82.5) ภาคกลาง (ร้อยละ 82.3) และภาคเหนือ (ร้อยละ 80.5) ตามลำ าดับ หากพิจารณารายได้ และค่าใช้จ่ายตามสถานะทาง เศรษฐสังคมของครัวเรือน ในปี 2566 (แผนภูมิ 2) พบว่า ครัวเรือนที่มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นผู้จัดการ นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานวิชาชีพ / เสมียน พนักงานขายและให้บริการ มีรายได้และค่าใช้จ่ายสูงที่สุด รองลงมาคือ กลุ่มครัวเรือน ที่มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่เกษตร หากพิจารณาความเพียงพอของรายได้ในการใช้จ่าย ครัวเรือนที่มีหัวหน้าครัวเรือนผู้ไม่ได้ปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐกิจ และครัวเรือนที่มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นลูกจ้างผู้ปฏิบัติงาน ในการผลิต/ก่อสร้างและเหมืองแร่ คนงานเกษตร ป่าไม้ และประมง เป็นกลุ่มครัวเรือนที่ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นสูงถึง ร้อยละ 89.1 และ 88.4 ของรายได้ประจำ า ตามลำ าดับ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนสูงกว่าครัวเรือนกลุ่มอื่นๆทำ าให้มีความเสี่ยง สูงกว่าที่รายได้จะไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายและอาจนำ าไปสู่ การกู้ยืมเงินและเป็นหนี้สิน สำ าหรับรายได้ครัวเรือนในระดับจังหวัด (แผนที่ 1) พบว่าครัวเรือนในจังหวัดเชียงรายมีรายได้ประจำ าเฉลี่ย ต่อเดือนน้อยที่สุด (15,649 บาท) โดยครัวเรือนส่วนใหญ่ ในจังหวัดภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมี รายได้ประจำ าเฉลี่ยอยู่ในช่วงเดือนละ 20,001-25,000 บาท ในขณะที่ครัวเรือนส่วนใหญ่ในจังหวัดภาคกลาง และ ภาคใต้ มีรายได้ประจำ าเฉลี่ยเดือนละ 25,001 บาทต่อ เดือนขึ้นไป สำ าหรับครัวเรือนในกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัดปริมณฑลส่วนใหญ่มีรายได้ประจำ าเฉลี่ยเดือนละ 35,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป ยกเว้นจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งมีรายได้ประจำ าเฉลี่ยเดือนละ 32,161 บาท แผนภูมิ 2 รายได้ประจำ า ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อเดือนต่อครัวเรือน และสัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ประจำ า จำ าแนกตามสถานะเศรษฐสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ครัวเรือนทั้งหมด ผู้ถือครอง ทำ าการเกษตร ผู้ประกอบธุรกิจ ที่ไม่ใช่การเกษตร ผู้จัดการ นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานวิชาชีพ เสมียน พนักงานขาย และให้บริการ ผู้ปฏิบัติงานในการผลิต ก่อสร้าง และเหมืองแร่ คนงานเกษตร ป่าไม้ และประม ง ผู้ไม่ได้ปฏิบัติงาน ในเชิงเศรษฐกิจ (ร้อยละ) (บาท/เดือน)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==