รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด

53 2 - รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2566 ระดับจังหวัด จังหวัด ขนาดของครัวเรือน (คน/ครัวเรือน) ค่าใช้จ่าย : รายได้ ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อ รายได้ทั้งสิ้น ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ต่อ รายได้ประจำ า ค่าใช้จ่ายเพื่อ การอุปโภคบริโภค ต่อรายได้ประจำ า สุรินทร์ 3.0 82.3 84.0 71.2 หนองคาย 3.0 86.6 87.9 78.7 หนองบัวลำ าภู 3.2 79.7 83.1 73.2 อุดรธานี 2.5 82.5 84.9 75.7 อุบลราชธานี 2.9 77.5 79.3 68.8 อำ านาจเจริญ 3.0 79.6 81.3 69.8 ภาคใต้ 2.9 81.5 82.5 71.5 กระบี่ 3.1 86.5 88.9 78.0 ชุมพร 2.6 73.4 74.1 63.7 ตรัง 3.1 79.1 79.7 70.0 นครศรีธรรมราช 3.1 69.0 70.1 60.2 นราธิวาส 3.3 96.2 96.3 92.3 ปัตตานี 3.7 88.7 89.0 81.5 พังงา 2.7 90.4 90.7 81.7 พัทลุง 2.9 86.0 87.1 75.2 ภูเก็ต 2.8 93.0 93.5 80.7 ยะลา 3.1 71.1 71.2 65.4 ระนอง 3.1 80.2 80.8 70.0 สงขลา 2.5 90.0 90.2 75.0 สตูล 3.3 82.6 82.8 73.6 สุราษฎร์ธานี 2.9 78.6 81.4 68.7 ตาราง 13 สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน รายจังหวัด (ต่อ) สำ าหรับสัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ประจำ าของครัวเรือน ตามสถานะทางเศรษฐสังคมของครัวเรือน (ตาราง 14) เมื่อพิจารณาสัดส่วนดังกล่าวที่มีค่าเกินร้อยละ 100 ซึ่งหมายถึง ครัวเรือนที่มีรายได้ประจำ าไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย ในแต่ละเดือน พบว่า กลุ่มครัวเรือนผู้ถือครองทำ าการเกษตรใน 7 จังหวัดมีรายได้ประจำ าไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายของครัวเรือน ได้แก่ นราธิวาส (ร้อยละ 193.4 ) พัทลุง (ร้อยละ 152.7) ร้อยเอ็ด (ร้อยละ 139.2) นครนายก (ร้อยละ 123.9) นครพนม (ร้อยละ 114.8) ยโสธร (ร้อยละ 104.9) และแม่ฮ่องสอน (ร้อยละ 104.3) ครัวเรือนผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร ที่มีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายของครัวเรือนเพียง จังหวัดเดียว ได้แก่ นราธิวาส (ร้อยละ 102.2) สำ าหรับครัวเรือนลูกจ้าง ผู้จัดการ นักวิชาการผู้ปฏิบัติงาน วิชาชีพเสมียน พนักงานขายและให้บริการ ไม่มี จังหวัดใดที่ครัวเรือนมีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายของครัวเรือนส่วนครัวเรือนลูกจ้างผู้ปฏิบัติงานในการผลิตก่อสร้างและเหมืองแร่ คนงานเกษตร ป่าไม้ และประมง ที่มีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายของครัวเรือน มีทั้งหมด 3 จังหวัด ได้แก่ นราธิวาส (ร้อยละ 106.3) อำ านาจเจริญ (ร้อยละ 105.0) และสระแก้ว (ร้อยละ 101.7) ส่วนครัวเรือนผู้ไม่ได้ปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐกิจเป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ประจำ าสูงกว่าครัวเรือน ประเภทอื่น ๆ ซึ่งครัวเรือนที่มีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายของครัวเรือน มีทั้งหมด 11 จังหวัด ได้แก่ ร้อยเอ็ด (ร้อยละ 110.3) สุราษฎร์ธานี (ร้อยละ110.0) นราธิวาส (ร้อยละ109.4) สระแก้ว (ร้อยละ109.3) ระนอง (ร้อยละ108.2) บึงกาฬ (ร้อยละ106.7) ชุมพร (ร้อยละ 105.3) กระบี่ (ร้อยละ 105.0) พังงา (ร้อยละ 101.6) มุกดาหาร (ร้อยละ 100.9) และพะเยา (ร้อยละ 100.6)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==