รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2560 ระดับจังหวัด

ภาระหนี้สินของครัวเรือน ในปี 2560 พบว่า ประมาณครึ่งหนึ่ ง (ร้อยละ 50 .7 ) ของครัว เรือนทั้งประ เทศมีหนี้ โดยร้อยละ 45.6 มีหนี้ในระบบ ร้อยละ 2.9 มีหนี้ นอกระบบ และร้อยละ 2.1 มีหนี้ทั้งในและนอกระบบ และเมื่อพิจารณาครัวเรือนที่มีหนี้ จาแนกตามสถานะ ทางเศรษฐสังคม (แผนภูมิ 4) พบว่า ครัวเรือน ผู้ถือครองทาการเกษตรร้อยละ 67.2 มีหนี้สินซึ่งสูง กว่าครัวเรือนประเภทอื่น รองลงมาคือ ครัวเรือน ผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่เกษตร ร้อยละ 55.9 และ ค รั ว เรื อ น ลู ก จ้ า งที่ เป็ น ผู้ จั ด ก า ร นั ก วิ ช า ก า ร ผู้ปฏิบัติงานวิชาชีพ/ เสมียน พนักงานขายและ ให้บริการ ร้อยละ 54.3 ส่วนมูลค่าหนี้สินเฉลี่ยต่อ ครัวเรือนที่เป็นหนี้สูงสุดอยู่ใน ครัวเรือนลูกจ้างที่เป็น ผู้จัดการ นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานวิชาชีพ / เสมียน พนักงานขายและให้บริการ 530,666 บาท รองลงมา คือ ครัวเรือนผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่เกษตร 437,635 บาท และครัวเรือนผู้ไม่ได้ปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐกิจ 252,241 บาท หากพิจารณามูลค่าหนี้สินต่อครัวเรือน ที่เป็นหนี้ ระดับจังหวัด พบว่า ครัวเรือนที่มีมูลค่า หนี้สินเฉลี่ยสูง ส่วนใหญ่อยู่ในกรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัดปริมณฑล ภาคกลาง และภาคใต้บางจังหวัด (แผนที่ 2) โดยเมื่อพิจารณาตามวัตถุประสงค์การกู้ยืม พบว่า มีจังหวัดมากถึง 40 จังหวัดที่หนี้สินส่วนใหญ่ (มากกว่าร้อยละ 40 ของหนี้สินทั้งหมด) ของครัวเรือนใน จังหวัดนั้น เกิดจากการกู้ยืมเงินเพื่อนามาใช้จ่ายอุปโภค บริโภค และยังพบอีกว่า จังหวัดที่มีหนี้สินมากกว่า ร้อยละ 40 ซึ่งเกิดจากการซื้อ/เช่าซื้อ บ้านและ/หรือ ที่ดิน ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัดปริมณฑล และจังหวัดใกล้เคียง รวมถึงภาคใต้ บางจั งหวัด ในขณะที่จั งหวัดที่มีหนี้สินมากกว่า ร้อยละ 40 ซึ่งเกิดจากการ กู้ยืมเงินเพื่อใช้ทาการเกษตร มี เพี ยงสองจั งหวัด คือ จั งหวั ดสุพรรณบุ รี และ กาแพงเพชร (แผนที่ 2) ................................... แผนภูมิ 4 ครัวเรือนที่มีหนี้สิน สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้ประจา และมูลค่าหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ที่เป็นหนี้ จาแนกตามสถานะเศรษฐสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2560 ฎ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==