รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2564 ระดับจังหวัด

2 - 87 จังหวัด กลุ่มควินไทล์ที่ 1 กลุ่มควินไทล์ที่ 2 กลุ่มควินไทล์ที่ 3 กลุ่มควินไทล์ที่ 4 กลุ่มควินไทล์ที่ 5 ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) ครัวเรือน ที่มีหนี้สิน (ร้อยละ) มูลค่า หนี้สินเฉลี่ย ของครัวเรือน (บาท) พังงา 35.4 63,311 38.2 132,074 38.0 131,569 37.0 91,298 33.6 156,311 พัทลุง 50.5 115,780 60.1 101,019 45.0 108,498 54.7 228,223 60.5 442,547 ภูเก็ต 58.9 79,950 60.1 182,387 54.0 245,059 63.3 300,195 51.0 621,617 ยะลา 48.1 44,097 47.1 46,132 39.9 46,257 38.4 109,311 47.8 208,603 ระนอง 24.9 32,320 23.5 37,171 37.3 114,189 46.2 157,538 54.6 443,679 สงขลา 31.3 75,436 36.9 45,793 41.8 141,761 40.1 92,620 46.9 266,496 สตูล 49.5 82,517 55.7 97,235 49.2 85,165 53.4 167,374 60.4 592,539 สุราษฎร์ธานี 49.0 90,550 47.7 137,087 68.5 261,824 60.8 232,010 71.5 749,368 ตาราง 23 ครัวเรือนที่มีหนี้สินและมูลค่าหนี้สินเฉลี่ย จำ าแนกตามกลุ่มควินไทล์รายได้ประจำ าของครัวเรือน รายจังหวัด (ต่อ) 2.4.3 ลักษณะสำ าคัญของครัวเรือนตามกลุ่มควินไทล์ของรายได้ประจำ า การแบ่งกลุ่มครัวเรือนออกเป็นกลุ่มควินไทล์ตามรายได้เฉลี่ยต่อคนของครัวเรือน นอกจาก จะใช้ศึกษาความเหลื่อมล้ ำ าทางด้านรายได้แล้ว ยังสามารถใช้ศึกษาลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มควินไทล์ได้อีกด้วย ทั้งนี้ เพราะว่าความเหลื่อมล้ำ าทางด้านรายได้ส่งผลโดยตรงให้เกิดความ เหลื่อมล้ำ าในด้านอื่น ๆ เช่น ในเรื่องความเป็นอยู่ การเข้าถึงเทคโนโลยี เป็นต้น ลักษณะที่สำ าคัญบางประการ ระหว่างกลุ่มควินไทล์ที่ 1 และกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ที่ได้ศึกษา ความแตกต่างไว้ (ตาราง 24 - 25) มีดังต่อไปนี้ - ขนาดครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 ซึ่ งเป็นกลุ่มที่มีรายได้น้อยที่สุด มีขนาดครัวเรือนใหญ่กว่ากลุ่มควินไทล์ที่ 5 ซึ่งมีรายได้มากที่สุด - หัวหน้าครัวเรือนหญิง พบว่า ครัวเรือนในภาพรวมของประเทศ และภาคกลางในกลุ่มควินไทล์ ที่ 1 มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นหญิงมากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 - ผู้มีงานทำ า พบว่า ทุกภาคครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 มีสมาชิกในครัวเรือนที่มีงานทำ า มากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 - เป็นเจ้าของบ้านที่อยู่ พบว่า แม้ว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 เป็นกลุ่มที่มีรายได้น้อยที่สุด แต่ครัวเรือนในกลุ่มนี้ เป็นเจ้าของบ้านที่อยู่อาศัยมากกว่ากลุ่มควินไทล์ที่ 5 ยกเว้นบางจังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี ตราด นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี ชุมพร พัทลุง ภูเก็ต ระนอง และสุราษฎร์ธานี - ใช้น้ำ าประปา พบว่า ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 เข้าถึงการใช้น้ำ าประปาได้ ร้อยละ 95.1 ซึ่งมากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 ที่เข้าถึงการใช้น้ำ าประปาได้ ร้อยละ 84.2 - มีส้วมแบบนั่งห้อยเท้า พบว่า ครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ร้อยละ 85.3 ใช้ส้วมแบบนั่งห้อยเท้า ในที่อยู่อาศัย มากกว่าครัวเรือนในกลุ่มควินไทล์ที่ 1 ที่มีใช้เพียงร้อยละ 36.4 - ใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ครัวเรือนที่มีสมาชิกในครัวเรือนอย่างน้อย 1 คน ที่มีการใช้อินเทอร์เน็ต (โดยไม่คำ านึงว่าจะใช้ ณ สถานที่ใด) ในกลุ่มควินไทล์ที่ 5 ร้อยละ 96.4 มากกว่าครัวเรือนกลุ่มควินไทล์ที่ 1 ที่มีการเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตเพียงร้อยละ 76.3

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==