รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2564 ระดับจังหวัด
50 2 - 2.3.1 สัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้้ของครัวเรือน สัดส่ วนค่ าใช้ จ่ ายต่อรายได้ เป็นสัดส่ วนที่ แสดงให้ เห็นถึ งความเพียงพอของรายได้ เมื่อเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่าย โดยในที่นี้ ได้คำ านวณออกมาเป็นร้อยละ กล่าวคือ หากค่าสัดส่วนคำ านวณออกมา มีค่าน้อยกว่า 100 หมายความว่า ครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้หรือมีรายได้เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย ซึ่งในกรณีนี้ ครั วเรื อนมี โอกาสเก็บออม หากค่ าสัดส่ วนมีค่ าเท่ากับ 100 หมายความว่ าครั วเรื อนหารายได้มาได้พอดีกับ ค่าใช้จ่าย และหากค่าสัดส่วนมีค่ามากกว่า 100 หมายความว่าครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้ หรือรายได้ ที่หามาได้ไม่เพียงพอต่อภาระค่าใช้จ่าย ซึ่ งในกรณีนี้ครัวเรือนอาจจะต้องกู้ยืมหรือนำ าเงินออมของตนออกมาใช้ เพื่อให้เพียงพอกับภาระค่าใช้จ่ายที่ เกิดขึ้น รายงานฉบั บนี้ ได้ ค ำ านวณสั ดส่ วนค่ าใช้ จ่ ายต่ อรายได้ (ตาราง 13) ไว้ 3 รู ปแบบ ซึ่ งจะสะท้อนภาวะค่าใช้จ่ายต่อรายได้ ดังนี้ 1) สัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ทั้งสิ้น สะท้อนให้เห็นว่ารายได้ที่ ได้รับเป็นประจำ า และรายได้อื่ นที่ ไม่ประจำ า เพียงพอต่อค่ าใช้จ่ ายปกติ ในชี วิตประจำ าวันและค่ าใช้จ่ ายอื่ นนอกเหนือจากการ ดำ าเนินชีวิตปกติที่อาจเกิดขึ้นหรือไม่ 2) สัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ประจำ า สะท้อนให้เห็นว่ารายได้ที่ ได้รับเป็นประจำ า เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายปกติในชีวิตประจำ าวันและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นหรือไม่ 3) สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่ อการอุปโภคบริ โภคต่อรายได้ประจำ า สะท้อนให้เห็นว่ารายได้ ที่ ได้รับเป็นประจำ า เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายปกติในชีวิตประจำ าวันหรือไม่ พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้ทั้ง 3 รูปแบบ พบว่า สัดส่วน ค่าใช้จ่ายทั้ งสิ้ นต่อรายได้ทั้ งสิ้ น และสัดส่ วนค่ าใช้จ่ ายทั้ งสิ้ นต่อรายได้ประจำ า มีค่ าไม่แตกต่ างกันมากนัก เนื่องจากรายได้ส่วนใหญ่ของครัวเรือนไทยเป็นรายได้ประจำ า ส่วนรายได้ไม่ประจำ าซึ่งเกิดขึ้นนาน ๆ ครั้งในรอบปี ซึ่ งมีสัดส่วนต่ ำ าเมื่อเทียบกับรายได้ทั้งสิ้น นอกจากนี้จะสังเกตได้ว่าสัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ทั้งสิ้นจะ มีค่าที่สูงกว่า สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคต่อรายได้ประจำ าด้วย (ตาราง 13) หากพิจารณาสัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้ (ตาราง 13) พบว่า ครัวเรือนทั่วประเทศมีสัดส่วน ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ทั้งสิ้น คิดเป็นร้อยละ 79.0 ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ประจำ า คิดเป็นร้อยละ 80.0 สำ าหรับ สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคต่อรายได้ประจำ า คิดเป็นร้อยละ 69.9 โดยภาคที่มีสัดส่วนค่าใช้จ่าย เพื่อการอุปโภคบริโภคต่อรายได้ประจำ าสูงสุด คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คิดเป็นร้อยละ 70.5 รองลงมาคือ พื้นที่ กรุงเทพมหานครและ 3 จังหวัดปริมณฑล และภาคเหนือ คิดเป็นร้อยละ 69.9 เมื่อพิจารณาสัดส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้ในระดับจังหวัด พบว่า จังหวัดภูเก็ต มีสัดส่วน ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ทั้งสิ้น และสัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นต่อรายได้ประจำ าสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 98.8 และ 99.9 ตามลำ าดับ ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะมีรายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ส่วนจังหวัดที่มีสัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อการ อุปโภคบริโภคต่อรายได้ประจำ าสูงสุด คือ นราธิวาส (ร้อยละ 93.5) รองลงมาคือ กำ าแพงเพชร (ร้อยละ 87.0) พิษณุโลก (ร้อยละ 84.7)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==