รายได้และการกระจายรายได้ของครัวเรือน พ.ศ. 2564 ระดับจังหวัด

62 2 - จังหวัด ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ที่เป็นหนี้ (บาทต่อเดือน) รายได้ประจำ า เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ที่เป็นหนี้ (บาทต่อเดือน) รายได้ทั้งสิ้น เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน ที่เป็นหนี้ (บาทต่อเดือน) มูลค่าหนี้สิน ของครัวเรือน ที่เป็นหนี้ (บาท) สัดส่วน ค่าใช้จ่าย ต่อรายได้ ประจำ า (ร้อยละ) สัดส่วน ค่าใช้จ่ายต่อ รายได้ ทั้งสิ้น (ร้อยละ) มูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ ทั้งสิ้น (เท่า) มูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ ประจำ า (เท่า) ภาคใต้ 25,556 32,103 32,526 377,058 79.6 78.6 11.6 11.7 กระบี่ 27,896 36,037 36,312 499,670 77.4 76.8 13.8 13.9 ชุมพร 28,487 41,786 42,115 434,581 68.2 67.6 10.3 10.4 ตรัง 21,154 28,234 28,495 340,013 74.9 74.2 11.9 12.0 นครศรีธรรมราช 24,084 33,707 34,066 390,139 71.5 70.7 11.5 11.6 นราธิวาส 23,208 23,074 23,079 199,020 100.6 100.6 8.6 8.6 ปัตตานี 17,764 22,137 22,786 208,819 80.2 78.0 9.2 9.4 พังงา 27,800 30,331 30,457 314,794 91.7 91.3 10.3 10.4 พัทลุง 20,754 28,336 28,574 367,524 73.2 72.6 12.9 13.0 ภูเก็ต 37,318 34,384 34,737 496,591 108.5 107.4 14.3 14.4 ยะลา 18,254 23,777 23,942 204,712 76.8 76.2 8.6 8.6 ระนอง 24,986 30,707 30,883 419,254 81.4 80.9 13.6 13.7 สงขลา 25,368 28,703 29,252 315,659 88.4 86.7 10.8 11.0 สตูล 24,218 27,248 27,277 381,185 88.9 88.8 14.0 14.0 สุราษฎร์ธานี 30,917 41,678 42,565 493,841 74.2 72.6 11.6 11.8 ตาราง 16 ความสัมพันธ์ของรายได้ ค่าใช้จ่าย และมูลค่าหนี้สินของครัวเรือนที่เป็นหนี้ รายจังหวัด (ต่อ) เมื่อพิจารณาเฉพาะครัวเรือนที่เป็นหนี้ทั่วประเทศ (ตาราง 16) พบว่า ครัวเรือนที่เป็นหนี้ มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ า คิดเป็น 12.9 เท่า โดยครัวเรือนที่เป็นหนี้ในภาคเหนือมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ประจำ าสูงสุด 15.2 เท่า ในขณะที่ภาคกลางมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ าต่ำ าสุด 11.6 เท่า และ หากพิจารณาครัวเรือนที่เป็นหนี้ในระดับจังหวัด พบว่า ครัวเรือนในจังหวัดพิจิตรมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ ประจำ าสูงสุด 21.8 เท่า ส่วนครัวเรือนในจังหวัดขอนแก่นมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ประจำ าต่ำ าสุด 4.6 เท่า และเมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือนทั่วประเทศ ในแต่ละ สถานะทางเศรษฐสังคม (ตาราง 17) พบว่า ครัวเรือนผู้ถือครองทำ าการเกษตรมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้น 8.8 เท่า ซึ่งสูงกว่าครัวเรือนประเภทอื่น ๆ โดยครัวเรือนผู้ถือครองทำ าการเกษตรในภาคเหนือมีสัดส่วนมูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงสุด 11.7 เท่า สำ าหรับในพื้นที่ภาคใต้ และภาคกลาง ครัวเรือนผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นของครัวเรือนสูงสุด 8.6 และ 8.0 เท่า ตามลำ าดับ ส่วนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครัวเรือนลูกจ้างเป็นครัวเรือนที่มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงสุด 11.8 เท่า โดยเฉพาะครัวเรือนลูกจ้าง ที่เป็นผู้จัดการ นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานวิชาชีพ เสมียน พนักงานขายและให้บริการ มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ ทั้งสิ้นสูงถึง 14.6 เท่า สำ าหรับครัวเรือนผู้ไม่ได้ปฏิบัติงานในเชิงเศรษฐกิจในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สินต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงสุด 7.8 เท่า โดยจังหวัดที่ครัวเรือนในประเภทนี้มีสัดส่วนมูลค่าหนี้สิน ต่อรายได้ทั้งสิ้นสูงสุด 3 อันดับ คือ จังหวัดกระบี่ (15.7 เท่า) สกลนคร (13.2 เท่า) และมุกดาหาร (13.1 เท่า)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==