สถานการณ์ของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายในอุตสาหกรรมไทย

3 ผลการวิเคราะห์ แผนภูมิที่ 2 จ านวนสถานประกอบในอุตสาหกรรม S - Curve ในปี 2555 2560 และ 2565 จ าแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม S - Curve แผนภูมิที่ 1 จ านวนสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรม S - Curve ในอุตสาหกรรมการผลิต ในปี 2555 2560 และ 2565 5,205 1,427 1,244 819 1,083 169 213 7,253 1,785 1,407 937 1,157 279 259 10,603 2,419 2,317 1,089 2,022 491 229 0 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 12,000 จ านวน (แห่ง) อุตสาหกรรม แปรรูปอาหาร อุตสาหกรรม ยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรม การเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ อุตสาหกรรม การแพทย์ ครบวงจร อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และระบบ อัตโนมัติ อุตสาหกรรม อากาศยาน และโลจิสติกส์ New S-Curve First S-Curve 10,160 2,917 6,093 0 3,000 6,000 9,000 12,000 15,000 18,000 21,000 แห่ง แห่ง แห่ง 28.7% 46.6% ปี 2555 ปี 2560 ปี 2565 ปี 2555 ปี 2560 ปี 2565 เมื่อพิจารณา จ านวนสถานปร ะกอบก า ร กลุ่มอุตสาหกรรม S - Curve ในอุตสาหกรรมการผลิต ในปี 2555 ปี 2560 และปี 2565 พบว่า จ านวนสถาน- ประกอบการมีจ านวนเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 10 ปี โดยในปี 2565 มีจ านวนสถานประกอบการ 19,170 แห่ง ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 88.7 และ 46.6 เมื่อเทียบกับปี 2555 และ 2560 ที่มีจ านวนสถานประกอบการจ านวน 10,160 และ 13,077 แห่ง ตาม ลาดับ เห็นได้ว่าการเพิ่มขึ้น ของจ านวนสถานประกอบการในอุตสาหกรรมเป้าหมาย ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แน ว คิ ด ข อ ง ส ภ า อุ ต ส า ห ก ร ร ม แห่งประเทศไทยในด้านการสนับสนุนและขับเคลื่อน อุตสาหกรรมตามนโยบายโมเดลเศรษฐกิจ BCG เพื่อปรับเปลี่ยนไปสู่อุตสาหกรรมเป้าหมาย ( S-Curve) ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา สถานประกอบการในอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ ( First S - Curve ) ในประเทศไทย มีฐานที่แข็งแกร่ง ทาให้มีการขยายตัวของสถานที่ประกอบการเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยเฉพาะอุตสาหกรรม การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ โดยในปี 2565 มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ 64.7 จากปี 2560 เนื่องจาก ภาคการเกษตรมีความ สาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยและประเทศไทยมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง อีกทั้งยังเป็นผู้น าทางด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ดังนั้นท าให้อุตสาหกรรม การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพเติบโตขึ้นอย่างมีนัย สาคัญ ส่วนสถานประกอบการอุตสาหกรรมอนาคต ( New S - Curve ) เมื่อเปรียบเทียบปี 2565 และปี 2560 พบว่า มีอัตราการเติบโตมากกว่าร้อยละ 70 คือ อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร และอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ทั้งนี้เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการแพทย์ และการเติบโตของตลาดอุตสาหกรรมการแพทย์ในประเทศไทย ทั้งอุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์จากการเปลี่ยนแปลง เชิงโครงสร้างทางประชากรไม่ว่าจะเป็นการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การขยายตัวความเป็นเมือง ซึ่งสะท้อนความต้องการ มาตรฐานความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จ านวน (แห่ง)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==