สถานการณ์ของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายในอุตสาหกรรมไทย
4 64,525 259,535 94,231 61,801 67,856 4,099 11,448 71,826 317,077 93,174 68,992 89,806 11,960 7,686 115,384 360,623 139,749 91,241 112,942 31,664 7,687 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 300,000 350,000 400,000 แผนภูมิที่ 3 จ านวนผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรม S - Curve ในปี 2555 2560 และ 2565 จ าแนกตามกลุ่มอุตสาหกรรม S - Curve จ านวน (ราย) อุตสาหกรรม แปรรูปอาหาร อุตสาหกรรม ยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรม การเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ อุตสาหกรรม การแพทย์ ครบวงจร อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และระบบ อัตโนมัติ อุตสาหกรรม อากาศยาน และโลจิสติกส์ New S-Curve First S-Curve ปี 2555 ปี 2560 ปี 2565 เมื่อพิจารณาจ านวนผู้ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรม S-Curve ในปี 2555 2560 และปี 2565 พบว่า อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ ( First S - Curve ) มีจ านวนผู้ปฏิบัติงานสูงสุดคืออุตสาหกรรมยานยนต์ สมัยใหม่ โดยในปี 2565 มีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.8 เมื่อเทียบกับปี 2560 แต่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับ อัตราที่เพิ่มขึ้นในปี 2555-2560 ซึ่งมีอัตราการเพิ่มร้อยละ 22.2 โดยอัตราการเพิ่มขึ้นที่น้อยลงนี้ อาจมีสา เหตุมาจากประ เทศไทยมีการทดแทนผู้ปฏิบัติงานโดยการใช้วิทยาการหุ่นยนต์และ ระบบอัตโนมัติตามสายการผลิตที่มากขึ้น ในขณะที่กลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆ ใน First S - Curve มีจ านวนผู้ปฏิบัติงานเพิ่มสูงขึ้นตลอดในทุก ๆ 5 ปี ส่วนสถานประกอบการอุตสาหกรรมอนาคต ( New S - Curve ) พบว่า อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ และอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร มีอัตราการเพิ่มของจ านวนผู้ปฏิบัติงาน เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ นั่นคือ ในปี 2565 ผู้ปฏิบัติงานมีอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 164.7 และ 25.8 เมื่อเทียบกับปี 2560 ตามล าดับ แต่อัตราดังกล่าวนั้นเพิ่มขึ้นน้อยลงเมื่อเทียบกับอัตรา ที่เพิ่มขึ้นในปี 2555-2560 ซึ่งมีอัตราการเพิ่มร้อยละ 191.8 และ 32.4 ตามล าดับ ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงาน ในอุตสาหกรรมอากาศยานและ โลจิสติกส์ลดลงอย่างเห็นได้ชัดตั้งแต่ปี 2555 เนื่องจาก กลุ่มอุตสาหกรรมนี้มีการวางแผนที่จะนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตและซ่อม บารุง เครื่องจักรและเครื่องยนต์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==