ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 54 3.2.2 บริจาคเงินหรือซื้อสิ่งของให้แก่องค์กรและมูลนิธิต่าง ๆิ จิ นื อื้ อิ่ ง้ แ่ อ์ กู ลิ ธิต่า ในการวิเคราะห์การแปลงการบริจาคเงินหรือซื้อสิ่งของให้แก่องค์กรและมูลนิธิต่าง ๆ ในส่วนนี้ จะจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) 2 แบบ ดังนี้ สถานการณ์ที่ที่ 1: ์เมื่อครัวเรือนลดการบริจาคเงินหรือซื้อสิ่งของให้แก่องค์กรและมูลนิธิ ต่าง ๆ ลงร้อยละ 50 แล้วนำ �เงินที่เหลือส่วนนี้ ไปเป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหารทั้งหมด สถานการณ์ที่ 2: ์ี่เมื่อครัวเรือนยกเลิกการบริจาคเงินหรือซื้อสิ่งของให้แก่องค์กรและ มูลนิธิต่าง ๆ ทั้งหมด แล้วนำ �เงินที่เหลือส่วนนี้ ไปเป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหารทั้งหมด (D50) (D100) ผลการจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) พบว่า ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยของครัวเรือน ยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) เพิ่มขึ้นประมาณ 6 บาท สำ �หรับสถานการณ์ D50 (เมื่อลดการ บริจาคลงครึ่งหนึ่ง) และเพิ่มขึ้นประมาณ 13 บาท สำ �หรับสถานการณ์ D100 (เมื่อยกเลิกการบริจาค ทั้งหมด) ส่วนค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยของครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) เพิ่มขึ้นไม่ แตกต่างกัน กล่าวคือ ประมาณ 7 บาท สำ �หรับสถานการณ์ D50 และเพิ่มขึ้นประมาณ 15 บาท สำ �หรับ สถานการณ์ D100 ตาราง 3.11 ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ย ตามการจำ �ลองสถานการณ์ D50 และ D100 พ.ศ. 2563 ประเภทครัววืเรืออนั ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ย (บาท/เดือน/ครัวเรือน)่ า้ จ่า้ าี่ ยื อั วื อ สถานการณ์เเิดิม์ม การจำ �ลองสถานการณ์ ำ �์ สถานการณ์ D50์ สถานการณ์ D100์ ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) 4,596 4,602 4,609 ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) 5,144 5,151 5,159

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==