ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

55 ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 ภาพ 3.10 จำ �นวนและร้อยละของครัวเรือนในแต่ละประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลงไป ตามการจำ �ลอง สถานการณ์ D50 และ D100 พ.ศ. 2563 1 2 ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) ั วื อั้ ง้ าี่ ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2)ั วื อ้ าี่ (D100) (D50) การจำ �ลองสถานการณ์ ำ �์ 1,477 6,575 (100%) (100%) ครัววืเรืออนั ครัววืเรืออนั ครัวเรือนยากจนแฝงั วื อ ด้านที่ไม่ใช่อาหาร ้ าี่ ไ่่ อ (ประเภทที่ 3) ี่ ครัวเรือนไม่ยากจนแฝง ั วื อ่ ย (ประเภทที่ 4) ี่ (0.1%) 2 ครัวเรือน ั วื อ (0.5%) 35 ครัวเรือน ั วื อ (0.1%) 2 ครัวเรือน ั วื อ (1.0%) 68 ครัวเรือน ั วื อ จากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายด้านอาหารที่น้อยมาก (น้อยกว่า 15 บาท) ทำ �ให้การขยับประเภท ครัวเรือนมีสัดส่วนที่น้อยด้วยเช่นกัน กล่าวคือ ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) เดิม จะขยับไปเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) เพียงร้อยละ 0.1 ทั้งในการจำ �ลอง สถานการณ์ D50 และ D100 ส่วนครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) เดิม จะหลุดพ้นจาก ความยากจนแฝงไปเป็นครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) ร้อยละ 0.5 ในการจำ �ลองสถานการณ์ D50 และร้อยละ 1.0 ในการจำ �ลองสถานการณ์ D100 ในภาพรวมภายหลังการจำ �ลองสถานการณ์ (ตาราง 3.12) พบว่า เมื่อครัวเรือนลดการบริจาคเงิน หรือสิ่งของลงครึ่งหนึ่ง หรือยกเลิกการบริจาคเงินหรือสิ่งของทั้งหมด จะทำ �ให้มีครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) เพิ่มขึ้นแทบจะไม่แตกต่างกันในทั้งสองรูปแบบการจำ �ลองสถานการณ์ กล่าวคือ เพิ่มจาก ร้อยละ 79.4 เป็นร้อยละ 79.5 หรือเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 0.1 เท่านั้น ซึ่งประมาณคร่าว ๆ ได้เพียง 22,000 ครัวเรือน หากคำ �นวณจากจำ �นวนครัวเรือนทั้งประเทศ 21,884,396 ครัวเรือน อ้างอิงจากการสำ �รวจ ข้อมูลพื้นฐานครัวเรือน พ.ศ. 2563 สำ �นักงานสถิติแห่งชาติ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==