ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

57 ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 ตาราง 3.13 ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ย ตามการจำ �ลองสถานการณ์ S50 และ S100 พ.ศ. 2563 ประเภทครัววืเรืออนั ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ย (บาท/เดือน/ครัวเรือน)่ า้ จ่า้ าี่ ยื อั วื อ สถานการณ์เเิดิม์ม การจำ �ลองสถานการณ์ ำ �์ สถานการณ์ S50์ สถานการณ์ S100์ ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) 4,596 4,631 4,665 ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) 5,144 5,238 5,332 ผลการจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) พบว่า ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยของครัวเรือน ยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) เพิ่มขึ้นประมาณ 35 บาท สำ �หรับสถานการณ์ S50 (เมื่อลด การใช้จ่าย 2 รายการลงครึ่งหนึ่ง) และเพิ่มขึ้นประมาณ 69 บาท สำ �หรับสถานการณ์ S100 (เมื่อยกเลิก การใช้จ่าย 2 รายการทั้งหมด) ส่วนค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยของครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) เพิ่มขึ้นมากกว่าของครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) ประมาณ 2.7 เท่า กล่าวคือ ประมาณ 94 บาท สำ �หรับสถานการณ์ S50 และเพิ่มขึ้นประมาณ 188 บาท สำ �หรับสถานการณ์ S100 ข้อมูลในภาพ 3.3 พบว่า ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) เดิม จะขยับไปเป็น ครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) ร้อยละ 1.6 ในการจำ �ลองสถานการณ์ S50 และ ร้อยละ 2.7 ในการจำ �ลองสถานการณ์ S100 ส่วนครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) เดิม จะหลุดพ้นจากความยากจนแฝงไปเป็นครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) ร้อยละ 5.7 ในการจำ �ลอง สถานการณ์ S50 และร้อยละ 10.9 ในการจำ �ลองสถานการณ์ S100

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==