ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 60 ในส่วนที่ผ่านมา ได้ทำ �การศึกษาถึงลักษณะทั่วไปของครัวเรือนยากจนแฝงโดยใช้ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) รวมถึงการจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) ในการขยับประเภท ครัวเรือน เมื่อครัวเรือนแปลงค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภคบางรายการ ให้เป็นค่าใช้จ่ายด้าน อาหาร สำ �หรับในส่วนนี้ จะทำ �การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นครัวเรือนยากจนแฝง 2 กลุ่ม ที่สนใจ ได้แก่ 1. ครัวเรือนไม่ยากจนแต่ยากจนแฝงด้านอาหาร และ 2. ครัวเรือนไม่ยากจนแต่ ัื่่้ัื่่ ยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร้ี่่่ เนื่องจากครัวเรือนทั้งสองกลุ่มดังกล่าวนี้ เป็นครัวเรือนที่ถูกมองข้าม และสมควรได้รับความช่วยเหลือเพิ่มเติมในบางมิติจากภาครัฐ ขอบข่ายของปัจจัยที่จะทำ �การศึกษาในหัวข้อนี้ จะเลือกมาจากตัวแปรของการสำ �รวจภาวะ เศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ที่เป็นตัวแปรเกี่ยวข้องกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ ลักษณะของบุคคล/ ครัวเรือน/ที่อยู่อาศัย การเป็นเจ้าของทรัพย์สิน และสวัสดิการและผลประโยชน์จากรัฐ ซึ่งสามารถสังเกต ได้ด้วยตาเปล่า หรือสอบถามเก็บข้อมูลได้ง่าย หรือภาครัฐมีฐานข้อมูลอยู่แล้ว (ตารางที่ 3.15) เพื่อให้ ผู้กำ �หนดนโยบายหรือหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง สามารถนำ �ปัจจัยที่ได้ไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทาง กำ �หนดหลักเกณฑ์ช่วยเหลือที่ภาครัฐสามารถตรวจสอบได้ง่าย สำ �หรับตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่าย เช่น สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านอาหารต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมด สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านที่ไม่ใช่อาหารต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมด เป็นต้น แม้ว่าจะเป็นปัจจัยที่สามารถอธิบาย การตกเป็นครัวเรือนยากจนแฝงได้ดี เนื่องจากการแบ่งประเภทครัวเรือน 4 ประเภทนั้นได้ใช้เกณฑ์ที่ กำ �หนดจากค่าใช้จ่าย แต่ในทางปฏิบัติ ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่าย เป็นตัวแปรที่นำ �ไปประยุกต์ใช้ กำ �หนดหลักเกณฑ์ให้ความช่วยเหลือได้ยาก เนื่องจากภาครัฐไม่มีข้อมูลค่าใช้จ่ายรายหมวดของแต่ละ ครัวเรือน และค่าใช้จ่ายเหล่านี้ไม่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า จำ �เป็นต้องสอบถามข้อมูลจากครัวเรือน เพิ่มเติม ซึ่งจัดเก็บข้อมูลได้ยากและมีโอกาสที่จะได้รับข้อมูลที่คลาดเคลื่อนหรือไม่ตรงกับความเป็นจริง จึงไม่ได้กำ �หนดให้อยู่ในขอบข่ายของปัจจัยที่ทำ �การศึกษาในหัวข้อนี้ 3.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นครัวเรือนยากจนแฝงั จั ยี่ มีผ่ อ็ นั วื อ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==