ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

67 ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 การเป็นเจ้าของทรัพย์สิน็้ั์ิ ครัวเรือนที่เป็นเจ้าของเครื่องปรับอากาศ มีโอกาสที่จะเป็น ัืี่็้ื่ัีี่็ ครัวเรือนไม่ยากจนแต่ยากจนแฝงด้านอาหารลดลง ร้อยละ 30.9 ส่วนครัวเรือนที่เป็นเจ้าของตู้เย็น ัื่่้้่ัืี่็ู้้็ รถจักรยานยนต์ รถปิคอัพฯ และเครื่องซักผ้าฝาบน มีโอกาสที่จะเป็นครัวเรือนไม่ยากจนแต่ ั์ิัื่ั้ีี่็ัื่่ ยากจนแฝงด้านอาหารเพิ่มขึ้น ร้อยละ 44.8 ร้อยละ 31.7 ร้อยละ 16.3 และร้อยละ 13.3 ตามลำ �ดับ้ าิ่ มึ้ น้ อ้ อ้ อ้ อ ำ �ั บ สวัสดิการและผลประโยชน์จากรัฐัิ์ั ครัวเรือนที่มีสมาชิกที่มีสวัสดิการบัตรประกันสุขภาพัืี่ีิี่ีัิััุ ถ้วนหน้า (บัตรทอง) เพิ่มขึ้น 1 คน มีโอกาสที่จะเป็นครัวเรือนไม่ยากจนแต่ยากจนแฝงด้านอาหาร ้้ัิ่ึ้ีี่็ัื่่้ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 47.3 และครัวเรือนที่มีสมาชิกได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เพิ่มขึ้น 1 คน มีโอกาสที่จะิ่ มึ้ น้ อั วื อี่ มีสิ ก้ รับั ตั สิ ก่ งั ฐิ่ มึ้ นี โี่ จ เป็นครัวเรือนไม่ยากจนแต่ยากจนแฝงด้านอาหารเพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.3็ นั วื อ่ ย่ ย้ าิ่ มึ้ น้ อ 7 8 ตาราง 3.16 ค่าสัมประสิทธิ์โลจิสติกส์ ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าสัมประสิทธิ์ และค่า Odds Ratio ของตัวแบบการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ที่เหมาะสม ปัจจัจัยัย ค่าสัมประสิทธิ์่ าั มิ ทิ์ โลจิสสิติกก์ส์ิ ค่าความคลาด่ า เคลื่อนมาตรฐานื่ อ Odds Ratio ค่าาี่คงท่ -3.851 0.255 0.021*** ภาค กรุงเทพฯ และ 3 จังหวัด 1 -1.258 0.105 0.284*** กลาง -0.273 0.049 0.761*** เหนือ -0.298 0.049 0.743*** ตะวันออกเฉียงเหนือ -0.162 0.046 0.851*** ใต้ (อ้างอิง) - - 1.000 ในเขตเทศบาล 0.203 0.032 1.225*** การศึกษาสูงสุดของหัวหน้าครัวเรือนเป็น ระดับประถมศึกษาหรือต่ำ �กว่า 0.151 0.036 1.163*** 1 3 จังหวัด ได้แก่ ปทุมธานี นนทบุรี และสมุทรปราการ หมายเหตุ: *** หมายถึง มีนัยสำ �คัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ** หมายถึง มีนัยสำ �คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 * หมายถึง มีนัยสำ �คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==