ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 78 บทที่ 4 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 4.1 สรุปผลการวิเคราะห์ ุ ปิ เ์ ครัวเรือนยากจนแฝงในประเทศไทยั วื อ การวิเคราะห์ข้อมูลจากการแบ่งครัวเรือนออกเป็น 4 ประเภท ซึ่งประกอบด้วย ครัวเรือน ยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) ครัวเรือน ยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) และครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) พบว่า มีสัดส่วน ครัวเรือนแต่ละประเภทอยู่ที่ร้อยละ 3.1 ร้อยละ 13.7 ร้อยละ 3.9 และร้อยละ 79.4 ตามลำ �ดับ โดย ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด และครัวเรือน ยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) อยู่ในภาคกลางมากที่สุด เมื่อวิเคราะห์ร่วมกับเกณฑ์เส้นความยากจน (Poverty Line: PL) พบว่า มี “ครัวเรือนไม่ัื่ ยากจนแต่ยากจนแฝงด้านอาหาร” ่้ อยู่ที่ร้อยละ 10.6 และมี “ครัวเรือนไม่ยากจนแต่ยากจนแฝงด้านที่ัื่่้ี่ ไม่ใช่อาหาร”่่ อยู่ที่ร้อยละ 3.0 ของจำ �นวนครัวเรือนตัวอย่างทั้งหมด ซึ่งครัวเรือนทั้งสองกลุ่มนี้ เป็นครัวเรือน ที่อาจถูกละเลยมองข้ามและควรได้รับความช่วยเหลือเพิ่มเติมในบางมิติ มิติด้านดิจิทัล พบว่า ครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) เป็นครัวเรือนที่ เข้าถึงดิจิทัลได้น้อยที่สุด จากค่าเฉลี่ยของจากจำ �นวนอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นเจ้าของ จำ �นวน สมาชิกที่มีการใช้อินเตอร์เน็ต ค่าใช้บริการและค่าโทร และค่าสมาชิกและค่าบริการอินเตอร์เน็ต ต่ำ �กว่า ครัวเรือนกลุ่มอื่น การจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) ำ �์ การจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) เมื่อเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค บางรายการไปเป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหารของครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) และ ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) พบว่า เมื่อครัวเรือนลดการเล่นหวยหรือการพนันลงครึ่ง หนึ่งหรือร้อยละ 50 จะทำ �ให้มีครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 และเมื่อ ครัวเรือนยกเลิกไม่เล่นหวยหรือการพนันทั้งหมด จะทำ �ให้มีครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==