ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 92 การศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นเรื่องความยากจนในประเทศไทย เริ่มได้รับความสนใจใน วงวิชาการตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมา โดยงานศึกษาที่ได้รับการกล่าวถึงและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป คืองานศึกษาของเอื้อย มีสุข ที่ทำ �ร่วมกับธนาคารโลก โดยเป็นจุดเริ่มต้นสำ �คัญของการพัฒนาตัวชี้วัด ความยากจน และเป็นเครื่องมือในการหาขนาดของความคนจนอย่างเป็นรูปธรรม แม้ว่าในระยะหลังวิธี การศึกษาดังกล่าวจะได้รับคำ �วิจารณ์ว่ายังมีข้อบกพร่องอยู่หลายจุด แต่การพัฒนาตัวชี้วัดในระยะต่อ มาก็ยังคงยึดหลักการและแนวคิดของธนาคารโลกเป็นสำ �คัญ โดยเฉพาะประเด็นการมีรายได้ที่เพียงพอ กับค่าใช้จ่ายในการบริโภคอาหารที่จำ �เป็นต่อการมีชีวิตรอด ต่อมาผู้เสนอแนวคิดในการคำ �นวณเส้น ความยากจนใหม่ คือ ศ.ดร.เมธี ครองแก้ว และ Prof. Nanak Kakwani ร่วมกับสำ �นักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้พัฒนาการคำ �นวณเส้นความยากจนใหม่ ด้วยการเพิ่มเติม เทคนิคการคำ �นวณที่ละเอียดรอบคอบมากขึ้น จึงกระทั่งในปี 2545 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ร่วมกับสำ �นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ภายใต้การให้ คำ �ปรึกษาของ Prof. Nanak Kakwani จึงได้มีการปรับปรุงแนวคิดในการคำ �นวณเส้นความยากจน แนวใหม่ โดยเป็นการคำ �นวณเส้นความยากจนด้านอาหารและเส้นความยากจนในหมวดที่ไม่ใช่อาหาร ออกจากกันอย่างชัดเจน รวมทั้งให้ความสำ �คัญกับการประหยัดจากขนาดของภายในครัวเรือน ซึ่งวิธี การคำ �นวณเส้นความยากจนดังกล่าวจึงถูกนำ �มาใช้อย่างเป็นทางการจนถึงปัจจุบัน 1. แนวคิดและเทคนิควิธีการจัดทำ �เส้นความยากจนใหม่ ิ ดิ คิ ธีกั ด ำ �้ น่ การจัดทำ �เส้นความยากจนเพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาและจำ �แนกคนที่จนกับคน ที่ไม่จนออกจากกันจะอาศัยแนวคิดพื้นฐานจากทฤษฎีอรรถประโยชน์สูงสุดของผู้บริโภค (Utility Theory) โดยเส้นความยากจนจะสะท้อนมาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำ � (minimum standard of living) ของสังคม สมมติให้มาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำ �เท่ากับระดับอรรถประโยชน์ขั้นต่ำ � คือ * u คนที่มีอรรถประโยชน์ ต่ำ �กว่า * u จึงเป็นคนจน และความต้องการแคลอรีของแต่ละบุคคลจะขึ้นอยู่กับอายุและเพศเป็นหลัก ส่งผลให้ความต้องการอาหารของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน นอกจากนี้ ในส่วนของความต้องการบริโภค สินค้าในหมวดที่ไม่ใช่อาหารยังขึ้นอยู่กับพื้นที่ (ภาคและเขต) ที่อาศัยอยู่ ทำ �ให้ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ (utility function) แตกต่างกัน การจัดทำ �เส้นความยากจน (Poverty Line) 1 1 ที่มา: สำ �นักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและเหลื่อมล้ำ �ของประเทศไทย ปี 2562, หน้าที่ 124 – 132

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==