ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2563 98 1.3. การประหยัดจากขนาด (Economy of scale)ั ด การอาศัยอยู่ร่วมกันในครัวเรือนจะส่งผลให้ผลของการประหยัดจากขนาดขึ้น โดยค่าใช้จ่าย บางรายการที่สามารถใช้ร่วมกันได้โดยไม่ทำ �ให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมาก เช่น ค่าแสงสว่าง การอยู่คนเดียวหรืออยู่สองคน อาจมีค่าใช้จ่ายเท่า ๆ กันได้ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม อาจมีค่าใช้จ่าย บางรายการที่ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ เช่น ค่ารักษาพยาบาล เป็นต้น หรือใช้ร่วมกันได้น้อย เช่น ค่าเสื้อผ้าและรองเท้า เป็นต้น แต่ถ้าเราสามารถยอมให้ค่าใช้จ่ายบางหมวดสามารถใช้ร่วมกันได้ จะทำ �ให้เส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารจะเป็นผลรวมของ 9 1 n n MNFPL MNFPL = = ∑ เมื่อ n MNFPL คือ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของสินค้าที่ไม่ใช่อาหารหมวด j โดยที่ j หมายถึง สินค้า หมวด 1 – 9 (ตามที่กล่าวข้างต้น) กำ �หนดขนาดของการประหยัดจากขนาดให้แต่ละหมวดสินค้า (economy of scale parameter) ( ) 1 n hm n h NFPL k MNFPL HS θ − =   ถ้า n θ เท่ากับ 1 หมายความว่า สินค้าหมวด j เป็นสินค้าที่ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ แต่ถ้า n θ เท่ากับ 0 หมายความว่าสินค้าหมวดดังกล่าวเป็นสินค้าที่ใช้ร่วมกันได้อย่างสมบูรณ์ โดยที่จำ �นวนผู้ ใช้ไม่มีผลทำ �ให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น ค่า k เป็นค่าคงที่ ดังนั้น ค่าเฉลี่ยของ hm NFPL เท่ากับค่าเฉลี่ยของ jn MNFPL ซึ่งหมายความว่าการยอมให้มีการประหยัดจากขนาดในแต่ละครัวเรือน ไม่มีผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยของประชากร 2. วิธีการคำ �นวณเส้นความยากจนใหม่ (Poverty line)ิ ธีก ำ �้ น่ ขั้นตอนการคำ �นวณเส้นความยากจนใหม่จะเริ่มจากการคำ �นวณเส้นความยากจนด้านอาหาร จากนั้นจึงคำ �นวณเส้นความยากจนในหมวดที่ไม่ใช่อาหาร และนำ �ค่าทั้งสองส่วนรวมกันเป็น เส้นความยากจนใหม่ โดยมีรายละเอียดขั้นตอนการคำ �นวณสามารถอธิบายได้ ดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==